โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตรรายวิชา ศิลปศึกษา
รหัสวิชาทช 21003 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
จำนวน 2 หน่วยกิต (80ชั่วโมง)

สาระสำคัญ
มีความรู้ความเข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ชื่นชม เห็นคุณค่าความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ทางทัศนศิลป์ไทย ดนตรีไทย นาฏศิลป์ไทย และวิเคราะห์ได้อย่างเหมาะสม

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
๑. อธิบายความหมายของธรรมชาติ ความงามความ ไพเราะของทัศนศิลป์ไทย ดนตรีไทย                             และนาฏศิลป์ไทย
๒. อธิบายความรู้พื้นฐานของ ทัศนศิลป์ไทย ดนตรีไทย และนาฏศิลป์ไทย
๓. สร้างสรรค์ผลงานโดยใช้ความรู้พื้นฐาน ด้าน ทัศนศิลป์ไทย คนตรีไทย และนาฏศิลป์ไทย
๔. ชื่นชม เห็นคุณค่าของ ทัศนศิลป์ไทย ดนตรีไทย และนาฏศิลป์ไทย
๕. วิเคราะห์ วิพากย์ วิจารณ์ งานด้านทัศนศิลป์ไทย คนตรีไทย และนาฏศิลป์ไทย
๖. อนุรักษ์สืบทอดภูมิปัญญาด้านทัศนศิลป์ไทย คนตรีไทย และนาฏศิลป์ไทย
ทัศนศิลป์ไทย

ขอบข่ายเนื้อหา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ทัศนศิลป์ไทย 
เรื่องที่ ๑ จุด เส้น สี แสง – เงา รูปร่างและรูปทรง เพื่อความซาบซึ้งในงานทัศนศิลป์ของไทย
เรื่องที่ ๒ ความหมาย ความเป็นมาของทัศนศิลป์ไทยด้านจิตรกรรมไทย ด้านประติมากรรม สถาปัตยกรรมไทย ภาพพิมพ์
เรื่องที่ ๓ ความงามและคุณค่าของทัศนศิลป์
เรื่องที่ ๔ การนำความงามของธรรมชาติมาสร้างสรรค์ผลงาน
เรื่องที่ ๕ ความคิดสร้างสรรค์ในการนำวัสดุและสิ่งของต่าง ๆ มาตกแต่งร่างกายและสถานที่
เรื่องที่ ๖ คุณค่าของความซาบซึ้งของวัฒนธรรมของชาติ


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ดนตรีไทย
เรื่องที่ ๑ ประวัติความเป็นมาและวิวัฒนาการของเครื่องดนตรีไทย
เรื่องที่ ๒ เทคนิคแลวิธีการเล่นของเครื่องดนตรีไทย
เรื่องที่ ๓ คุณค่าความงามความไพเราะของเพลงและเครื่องดนตรีไทย
เรื่องที่ ๔ ประวัติคุณค่าภูมิปัญญาของดนตรีไทย


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ นาฏศิลป์ไทย
เรื่องที่ ๑ ความเป็นมา
เรื่องที่ ๒ ประวัตินาฏศิลป์ไทย
เรื่องที่ ๓ ประเภทของนาฏศิลป์ทย
เรื่องที่ ๔ นาฎยศัพท์
เรื่องที่ ๕ รำวงมาตรฐาน
เรื่องที่ ๖ การอนุรักษ์นาฎศิลป์ไทย

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ นาฏศิลป์ไทยกับการประกอบอาชีพ
เรื่องที่ ๑ คุณสมบัติของอาชีพนักแสดง
เรื่องที่ ๒ คุณลักษณะของผู้ประกอบอาชีพการแสดง
               อาชีพการแสดงหนังตะลุง
               อาชีพการแสดงลิเก
               อาชีพการแสดงหมอลำ


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น