เรื่องที่ 2.1 ประวัติดนตรีไทย เครื่องดนตรีไทยมีวิวัฒนาการมาอย่างไร
ดนตรีไทย
ได้แบบอย่างมาจากอินเดีย สามารถจำแนกเป็น 4 ประเภท คือ เครื่อง
ดีดเครื่องสี เครื่องตี เครื่องเป่า
การกำเนิดและวิวัฒนาการของเครื่องดนตรีไทยนั้น
มีการสันนิษฐานว่า ดนตรีไทย เกิด จากความคิดและสติปีญญา'ของคน'โทย เกิดขึ้นมาพร้อมกับคนไทย
ตั้งแต่สมัยที่ยังอยู่ทางตอน ใต้ ของประเทศจีนแล้ว ทั้งนี้จะสังเกตเห็นได้ว่า
เครื่องดนตรี ตั้งเดิมของไทย จะมีซื่อเรียกเป็น คำโดด ซึ่งเป็นลักษณะของคำไทยแท้
เซ่น เกราะ, โกร่ง, กรับ ฉาบ, ฉิ่ง ปี, ขลุ่ย ฆ้อง, กลอง
เป็นด้น
ต่อมาเมื่อไทยได้อพยพลงมาตั้งถิ่นฐานในแถบแหลมอินโดจีน
จึงรับเอาวัฒนธรรม ทางดนตรีแบบอินเดีย ผสมกับแบบมอญและเขมร
เข้ามาผสมกับดนตรีที่มีมาแต่เดิมของตน จึงเกิดเครื่องดนตรีเพิ่มขึ้นอีก ได้แก่ พิณ
สังข์ ปีไฉน บัณเฑาะว์ กระจับปี และจะเข้ เป็นด้น ต่อมาเมื่อไทยได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในแหลมอินโดจีนอย่างมั่นคงแล้วได้ติดต่อสัมพันธ์กับ
ประเทศเพื่อนบ้านในแหลมอินโดจีนและประเทศทางตะวันตกบางประเทศที่เข้ามาติดต่อ
ค้าขาย ทำใท้ไทยรับเอาเครื่องดนตรีบางอย่างของประเทศต่าง ๆ เหล่านั้นมาใช้ เซ่น
กลอง แขก ปีขวาของขวา (อินโดนิเซีย) กลองมลายูของมลายู (มาเลเซีย) เปีงมาง
ตะโพนมอญ ปี มอญ และฆ้องมอญของมอญ กลองยาวของพม่า ขิม ม้าล่อของจีน กลองมริกัน
(กลองของซาว อเมริกัน) เปียโน ออร์แกน และ ไวโอสีนฃองประเทศทางตะวันตก เป็นต้น
วิวัฒนาการของดนตรีไทย
สามารถสรุปเป็นยุคสมัยได้ดังนี้
1. สมัยสุโขทัย
มีลักษณะเป็นการขับลำนำ
และร้องเล่นกันอย่างพื้นเมือง เครื่องดนตรีไทยที่ปรากฏ
หลักฐานในหนังสือไตรภูมิพระร่วง ได้แก่ แตร, สังข์, มโหระทึก, ฆ้อง, กลอง, ฉิ่ง, แฉ่ง (ฉาบ), บัณเฑาะว์,
พิณ, ซอพุงตอ (สันนิษฐานว่าคือ ซอลามลาย)
ปีไฉน, ระฆัง และ กังลดาล เป็นต้น
1. วงบรรเลงพิณ มีผู้'บรรเลง 1
คน ทำหน้าที่ดีดพิณและขับร้องไปด้วย
2. วงขับไม้ ประกอบด้วยผู้บรรเลง 3 คน คือ คนขับลำนำ 1 คน คนสี ซอสาม สาย คลอเสียงร้อง 1 คน และ
คนไกวบัณเฑาะว์ ให้จังหวะ 1 คน
3. วงปีพาทย์ เป็นลักษณะของวงปีพาทย์เครื่อง 5 มี 2 ชนิด คือ
วงปีพาทย์เครื่องห้า
อย่างเบา ประกอบด้วยเครื่องดนตรีชนิดเล็ก ๆ จำนวน 5 ชิ้น คือ 1.
ปี 2. กลองชาตรี 3. ทับ
(โทน) 4. ฆ้องคู่ 5. ฉิ่ง
ใช้บรรเลงประกอบการแสดง ละครชาตรี
วงปีพาทย์เครื่องห้า
อย่างหนัก ประกอบด้วย เครื่องดนตรีจำนวน 5 ชิ้น คือ 1. ปี ใน 2. ฆ้องวง (ใหญ่) 3. ตะโพน
4. กลองทัด 5. ฉิ่ง
ใช้บรรเลงประโคมในงานพิธีและบรรเลง ประกอบ การแสดงมหรสพต่าง ๆ จะเห็นว่า
วงปีพาทย์เครื่องห้า ในสมัยนี้ยังไม่มีระนาดเอก
4. วงมโหรี เป็นวงดนตรีที่นำเอาวงบรรเลงพิณ กับ วงขับไม้ มาผสมกัน
เป็นลักษณะ ของวงมโหรีเครื่องลี่ ประกอบด้วยผู้บรรเลง 4 คน
คือ 1. คนขับลำนำ และตีกรับพวงให้ จังหวะ 2. คนสี ซอลามลาย คลอเสียงร้อง 3. คนดีดพิณ 4. คนตีทับ (โทน) ควบคุมจังหวะ
2. สมัยกรุงศรีอยุธยา
จากหลักฐานในกฎมณเฑียรบาล
เครื่องดนตรีที่เพิ่งเกิดในสมัยนี้ได้แก่ กระจับปี ขลุ่ย จะเข้ และ รำมะนา ลักษณะชองวงดนตรีไทยในสมัยนี้มีการเปลี่ยนแปลง
และพัฒนาชิ้น กว่าในสมัยสุโขทัย ดังนี้
1. วงปีพาทย์ ในสมัยนี้ ก็ยังคงเป็น วงปีพาทย์เครื่องห้า
เซ่นเดียวกับในสมัยสุโขทัย แต่มี ระนาดเอก เพิ่มชิ้น วงปีพาทย์เครื่องห้า
ในสมัยนี้ประกอบด้วย เครื่องดนตรี 1. ระนาด เอก 2. ปีใน 3. ฆ้องวง (ใหญ่) 4. กลองทัด
ตะโพน 5. ฉิ่ง
2. วงมโหรี พัฒนาจาก วงมโหรีเครื่องลี่ ในสมัยสุโขทัยเป็นวงมโหรีเครื่องหก
ได้เพิ่มเครื่องดนตรี เช้าไปอีก 2 ชิ้น คือ ขลุ่ย และ รำมะนา
ประกอบด้วย เครื่องดนตรี จำนวน 6 ชิ้น คือ 1.ซอลามลาย 2. กระจับปี (แทนพิณ) 3. ทับ (โทน) 4. รำมะนา 5. ขลุ่ย 6.
กรับพวง
3. สมัยกรุงธนบุรี
วงดนตรีไทยในสมัยนี้ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีการพัฒนาเปลี่ยนแปลง
สันนิษฐานว่ายังคงเป็นลักษณะและรูปแบบของดนตรีไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยานั้นเอง
4. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
วงดนตรีในยุคสมัยนี้เริ่มมีการแบ่งออกเป็น
3 ประเภท ได้แก่ วงเครื่องสาย ซึ่งประกอบด้วยเครื่องดนตรีที่มีสายทั้งหลาย
เซ่น ซอ จะเข้ เป็นด้น วงปีพาทย์ ประกอบด้วยเครื่องตีเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ ระนาด
ฆ้อง และปี เป็นด้น วงมโหรี เป็นการรวมกันของวงเครื่องสายและวงปีพาทย์
แต่ตัดปีออกเพราะเสียงดัง กลบเสียงเครื่องสายอื่นหมด
โดยเฉพาะสมัยรัชกาลที่
5
- 7 จัดว่าเป็นยุคที่วงการดนตรีไทยถึงจุดรุ่งเรืองสุด ในสมัย
รัตนโกสินทร์นี้ สามารถเรียงลำดับพัฒนาดนตรีไทย ได้ดังนี้
รัชกาลที่ 1
มีการเพิ่ม
กลองทัด ขึ้นอีก 1 ลูก ใน วงปีพาทย์ วงปีพาทย์ จึงมีกลองทัด 2 ลูก
เสียง สูง (ตัวผู้) ลูกหนึ่ง และ เสียงตํ่า (ตัวเมีย) ลูกหนึ่ง และการใช้กลองทัด 2 ลูก ในวงปีพาทย์ ก็ เป็นที่นิยมกันมาจนกระทั่งปัจจุบันนี้
รัชกาลที่ 2
เป็นยุคทองของดนตรีไทยยุคหนึ่ง
พระมหากษัตริย์ทรงลนพระทัยดนตรีไทย เป็นอย่าง ยิ่ง ทรงพระปรีชาลามารถทรงดนตรีไทยซอลามลายได้
มีซอคู่พระหัตถ์ซื่อว่า“ซอลายฟ้าฟาด” และทรงพระราชนิพนธ์เพลงไทยที่ไพเราะและอมตะมาจนบัดนี้คือเพลง
“บุหลันลอยเลื่อน” ในสมัยนี้ได้มีการนำเอาวงปีพาทย์มาบรรเลง
ประกอบการขับเสภาเป็นครั้งแรก นอกจากนี้ยัง มีกลองชนิดหนึ่งเกิดขึ้น โดยดัดแปลงจาก
“เปิงมาง”ของมอญ เรียกว่า “ลองหน้า”ใข้ตี กำกับจังหวะแทนเสียงตะโพนในวงปีพาทย์
ประกอบการขับเสภา
รัชกาลที่ 3
วงปีพาทยได้พัฒนาขึ้นเป็นวงปีพาทย์เครื่องคู่
เพราะได้มีการประดิษฐ์ระนาดทุ้ม มาคู่ กับระนาดเอก และประดิษฐ์ฆ้องวงเล็กมาคู่กับ
ฆ้องวงใหญ่
รัชกาลที่ 4
วงปีพาทยได้พัฒนาขึ้นเป็นวงปีพาทย์เครื่องใหญ่
ได้มีการประดิษฐ์เครื่องดนตรี เพิ่มขึ้น 2 ชนิด เรียกว่า
ระนาดเอกเหล็ก และระนาดทุ้มเหล็ก นำมาบรรเลงเพิ่มในวงปีพาทย์เครื่องคู่
ทำให้ขนาดของวงปีพาทย์ขยายใหญ่ขึ้น จึงเรียกว่า วงปีพาทย์เครื่องใหญ่ เพลงเถาเกิดขึ้น
มากมายในสมัยนี้ นอกจากนี้วงเครื่องสาย ก็เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลนี้เซ่นกัน
รัชกาลที่ 5
ได้มีการปรับปรุงวงปีพาทย์ขึ้นใหม่
เรียกว่า “วงปีพาทย์ดึกดำบรรพ์” ใช้บรรเลง ประกอบการแสดง “ละครดึกดำบรรพ์” วงปีพาทย์ดึกดำบรรพ์
ประกอบด้วยระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ระนาดทุ้ม ระนาดทุ้มเหล็ก ขลุ่ย ซออู้ ฆ้องหุ่ย
(ฆ้อง 7 ใบ) ตะโพน กลองตะโพน และเครื่องกำกับจังหวะ
รัชกาลที่ 6
มีการปรับปรุงวงปีพาทย์ขึ้น
โดยนำวงดนตรีของมอญมาผสมกับวงปีพาทย์ของไทย เรียกว่า “วงปีพาทย์มอญ” โดยหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)
เป็นผู้ปรับปรุงขึ้น วงปี พาทย์มอญดังกล่าวนี้ ก็มีทั้งวงปีพาทย์มอญเครื่องห้า
เครื่องคู่ และเครื่องใหญ่ เซ่นเดียวกับวงปี พาทย์ของไทย
และกลายเป็นที่นิยมใช้บรรเลงประโคมในงานศพ มาจนกระทั่งบัดนี้ รูปแบบของวง
ดนตรีไทยเปลี่ยนแปลงพัฒนา ดังนี้คือ
1.การนำเครื่องดนตรีของชวา หรืออินโดนีเซีย คือ “อังกะลุง”
มาเผยแพร่ในเมืองไทย เป็นครั้งแรก โดยหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร
ศิลปบรรเลง) นำมาดัดแปลง ปรับปรุงขึ้นใหม่ให้มี เลียงครบ 7
เลียง (เดิมมี 5 เลียง) ปรับปรุงวิธีการเล่น โดยถือเขย่าคนละ
2 เลียง ทำให้ กลายเป็นเครื่องดนตรีไทยอีกอย่างหนึ่ง
เพราะคนไทยลามารถทำอังกะลุงได้เอง อีกทั้งวิธีการ
บรรเลงก็เป็นแบบเฉพาะของเราแตกต่างไปจากของชวาโดยลิ้นเซิง
2.การนำเครื่องดนตรีของต่างชาติเช้ามาบรรเลงผสมในวงเครื่องลาย ได้แก่
ขิมของจีน และออร์แกนของฝรั่ง ทำให้วงเครื่องลายพัฒนารูปแบบของวงไปอีกลักษณะหนึ่ง
คือ
“วงเครื่องลายผสม”
ในสมัยรัชกาลที่
6 มีการกำหนดราชทินนามของนักดนตรีที่รับราชการในราชสำนักเป็น จำนวนมาก
นักดนตรีสำคัญท่านหนึ่งแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ คือ ท่านหลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร
ศิลปบรรเลง) ซึ่งเป็นนักดนตรีที่มีความลามารถทั้งปีพาทย์และเครื่องลาย
เป็นผู้ประพันธ์ เพลงไทยหลายเพลง เซ่น แลนคำนึง นกเชาชะแมร์ ลาวเลี่ยงเทียน ฯลฯ
รัชกาลที่ 7
พระบาทลมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ได้ทรงลนพระหัยทางด้านดนตรีไทยมากเซ่นกัน พระองคํได้พระราชนิพนธ์เพลงไทยไว้ถึง 3 เพลง คือ เพลงโหมโรงคลี่นกระทบฝัง 3 ชั้น เพลง
เขมรลอยองค์(เถา) และเพลงราตรีประดับดาว (เถา) ในวังต่าง ๆ มักจะมีวงดนตรีประจำวัง
เซ่น วงวังบูรพา วงวังบางชุนพรหม วงวังบางคอแหลม และวงวังปลายเนิน เป็นด้น
ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
พ.ศ .2475 เป็นต้นมา ดนตรีไทยเริ่มซบ เซาลง เนื่องจากรัฐบาลในสมัยหนึ่งมีนโยบาย “รัฐนิยม” กล่าวคือมีการห้ามบรรเลง ดนตรี ไทย
เพราะเห็นว่าไม่ลอดคล้องกับการพัฒนาประเทศให้หัดเทียมกับอารยประเทศ ใครจะจัด
ให้มีการบรรเลง ดนตรีไทยต้องขออนุญาตจากทางราชการก่อน
อีกทั้งนักดนตรีไทยก็จะต้องมี บัตรนักดนตรีที่ทางราชการออกให้ จนกระทั่งต่อมาอีกหลายปี
เมื่อได้มีการสั่งยกเลิก “รัฐนิยม” ดังกล่าว
แต่ถึงกระนั้นดนตรีไทยก็ไม่รุ่งเรืองเท่าแต่ก่อน
รัชกาลที่
8
(พ.ศ. 2477 - 2489)
-เกิดโรงเรียนลอนดนตรีและนาฏศิลป๋ไทยชองราชการแห่งแรกคือ
โรงเรียนนาฏดุริยางค ศาสตร์ (ป้จจุบันคือวิทยาลัยนาฏศิลปี)
-กรมศิลปากรตั้งคณะกรรมการตรวจลอบบทเพลงเพื่อบันทึกโน๊ตเพลงไทยเป็นโน๊ต
สากล
รัชกาลที่
9
(พ.ศ. 2487 - ปัจจุบัน)
-มีการนำทำนองเพลงพื้นเมืองหรือเพลงไทยลองชั้น ชั้นเดียว
มาใส่เนื้อร้องใหม่แบบ เนื้อเต็มตามทำนอง เกิดเป็นเพลงลูกทุ่ง เพลงลูกกรุง
-พ.ศ. 2512 พระบาทลมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ
ให้คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วัดความถี่ชองเลียงดนตรีไทยเพื่อให้เป็นมาตรฐาน
-การลอนดนตรีไทยได้รับการส่งเสริมเช้าสู่โรงเรียนและสถาบันการศึกษาทั่วประเทศ
-พ.ศ. 2528 สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
เริ่มต้นการประกาศยกย่อง ศิลปีนแห่งชาติ
-ศิลปีนรุ่นใหม่พัฒนาดนตรีไทยในแนวทางร่วมสมัย เซ่น การประสมวงที่มีเครื่อง
ดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีตะวันตก การใช้เทคโนโลยีการบันทึกเสียงสร้างมิติเสียงใหม่
ๆ ใน ดนตรีไทย
-ดนตรีไทยไต้รับการเผยแพร่ทางสื่อรูปแบบใหม่ ทั้งแถบบันทึกเสียง และซีดี
รายการ วิทยุ รายการโทรทัศน์ และเว็บไซต์
-สมเด็จพระเทพรัตนราซสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์
ศิลปวัฒนธรรมดนตรีที่สำคัญยิ่ง ทรงพระปรีชาสามารถในทางการบรรเลงดนตรีไทยและขับ
ร้องตลอดจนพระราชนิพนธ์เนื้อร้องสำหรับนำไปบรรจุเพลงต่าง ๆ ผลงานพระราชนิพนธ์ที่มี
ซื่อเสียง เซ่น เพลงไทย ดำเนินดอย เพลงเต่าเห่ เพลงชื่นชุมนุมกลุ่มดนตรีไทย เป็นต้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น