เรื่องที่ 2.2
เทคนิคและวิธีการเล่นของเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยคืออะไร
และมีกี่ประเภท
เครื่องดนตรีไทย
คือ สื่งที่สร้างขึ้นสำหรับทำเสียงให้เป็นทำนองหรือจังหวะ วิธีที่ทำให้
มีเสียงดังขึ้นนั้นมีอยู่ 4 วิธี คือ
-ใช้มือหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งดีดที่ลาย
แล้วเกิดเสียงดังขึ้น สิ่งที่มีลายสำหรับดีด เรียกว่า
“เครื่องดีด”
-ใช้เส้นหางม้าหลาย
ๆ เส้นรวมกันสีไปมาที่ลาย แล้วเกิดเสียงดังขึ้น สิงที่มีสายแล้วใช้
เส้นหางม้าสีให้เกิดเสียง เรียกว่า “เครื่องสี”
-ใช้มือหรือไม้ตีที่สิ่งนั้นแล้วเกิดเสียงดังขึ้น
สิ่งที่ใช้ไม้หรือมีอตี เรียกว่า “เครื่องตี”
-ใช้ปากเป่าลมเช้าไปในสิ่งนั้นแล้วเกิดเสียงดังขึ้น
สิ่งที่เป่าลมเช้าไปแล้วเกิดเสียง เรียกว่า “เครื่องเป่า”
เครื่องดนตรีไทยจึงลามารถแบ่งไต้เป็น
4 ประเภท คือ ดีด สีตี เป่า
เครื่องดนตรีไทยทั้ง
4 ประ๓ท ประกอบด้วยอะไร และมีวิธีการเล่นอย่างไร
1.เครื่องดนตรีไทยประ๓ท
เครื่องดีด
เครื่องดีด
คือ เครื่องดนตรีไทยที่เล่นด้วยการใช้นิ้วมือ หรือไม้ดีด ดีดสายให้สั่นสะเทือน
จึงเกิดเสียงขึ้น
เครื่องดนตรีไทยคือ กระจับ ปี พิณนิ้าเด้า พิณเปียะ จะเข้ ซึง
กระจับปี
เป็นเครื่องดนตรีประเภทดีด
หรือพิณ 4 สายชนิดหนึ่ง ตัวกะโหลกเป็นรูปกลมรีแบน ทั้งหน้าหลัง มีความหนาประมาณ 7
ซม. ด้านหน้ายาวประมาณ 44 ซม. กว้างประมาณ 40 ซม. ทำคันทวนเรียวยาวประมาณ 138 ซม.
ตอนปลายคันทวนมีลักษณะแบน และบาน ปลายผายโค้งออกไป
ถ้าวัดรวมทั้งคันทวนและตัวกะโหลก จะมีความยาวประมาณ 180 ซม.
มีลูกบิดลำหรับขึ้นลาย
4 อัน มีนมรับริ้วนิ้ว 11 นมเท่ากับจะเข้ ตรงด้านหน้ากะโหลกมีแผ่นไม้ บาง ๆ
ทำเป็นหย่องคํ้าลายให้ตุงขึ้น เวลาบรรเลงใช้นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วขึ้จับไม้ดี
เขี่ยลายให้ เกิดเสียง
พิณโบราณเรียก
พิณนิ้าเด้า ซึ่งมีลักษณะเป็นพิณลายเดี่ยว การที่เรียกว่าพิณนิ้าเด้า
เพราะใช้เปลือกผลนิ้าเด้ามาทำ คันพิณที่เรียกว่า ทวน ทำด้วยไม้เหลา
ให้ปลายช้างหนึ่งเรียว งอนโค้งขึ้นลำหรับผูกลาย
ที่โคนทวนเจาะรูแล้วเอาไม้มาเหลาทำลูกบิดลำหรับบิดให้ลายตึง หรือหย่อน
เพื่อให้เสียงสูงตํ่า ลายพิณมีลายเดียวเดิมทำด้วยเส้นหวาย ต่อมาใช้เส้นไหม และ
ใช้ลวดทองเหลืองในบิจจุบัน
พิณเปียะ
หรือพิณเพียะ เป็เครื่องดนตรีพื้นเมืองลานนาชนิดหนึ่ง มีคันทวน ตอนปลาย
คันทวนทำด้วยเหล็กรูปหัวช้าง ทองเหลืองลำหรับใช้เป็นที่พาดลาย
ใช้ลายทองเหลืองเป็นพื้น
ลายทองเหลืองนิ้จะพาดผ่านสลักตรงกะลาแล้วต่อไปผูกกับสลักตรงด้านซ้าย ลายชองพิณ
เปียะมีทั้ง 2 ลาย และ 4 ลาย กะโหลกชองพิณเปียะทำด้วยเปลือกนิ้าเด้าตัดครึ่ง หรือ
กะลามะพร้าวก็ได้ เวลาดีดใช้กะโหลกประกบติดกับหน้าอก ชยับเป็ด ปีดให้เกิดเลียงตาม
ต้องการ
เป็นเครื่องดนตรีประเภทดีด
มี 3 สาย นำมาวางดีดกับพื้น บรรเลงอยู่ในวงมโหรีคู่กับ กระจับปี
ตัวจะเข้ทำเป็นสองตอน คือตอนหัว และตอนหาง ตอนหัวเป็นกระพุ้งใหญ่ ทำด้วย
ไม้แก่นขนุน ท่อนหัวและท่อนหางขุดเป็นโพรงตลอด ปีดใต้ท้องด้วยแผ่นไม้
มีเท้ารองตอนหัว 4 เท้า และตอนปลายอีก 1 เท้า ทำหนังนูนตรงกลาง ให้ลองข้างลาดลง
โยงลายจากตอนหัวไป ทางตอนหางเป็น 3 ลาย มีลูกบิดประจำลายละ 1 อัน ลาย 1
ไข้ลายลวดทองเหลือง อีก 2 ลายใข้เล้นเอ็น
เวลาบรรเลงใช้ดีดด้วยไม้ดีดกลมปลายแหลมทำด้วยงาข้าง หรือกระดูกสัตว์
เคียนด้วยเส้นด้ายลำหรับพันติดกับปลายนิ้วซี้ข้างขวาของผู้ดีด และใช้นิ้วหัวแม่มือ
กับนิ้วกลาง ช่วยจับให้มีกำลังเวลาแกว่งมือลายไปมา ให้สัมพันธ์กับมือข้างซ้ายขณะกดลายด้วย
เป็นเครื่องดนตรีชนิดดีด
มี 4 ลายเช่นเดียวกับกระจับปี แต่มีฃนาดเล็กกว่า กะโหลกมี รูปร่างกลม
ทั้งกะโหลกและคันทวน ใช้ไม้เนื้อแข็งชิ้นเดียวคว้าน ตอนที่เป็นกะโหลกให้เป็น โพรง
ตัดแผ่นไม้ให้กลม แล้วเจาะรูตรงกลางทำเป็นฝาบิดด้านหน้าเพื่ออุ้มเลียงให้กังวาน
คัน ทวนทำเป็นเหลี่ยมแบนตอนหน้าเพื่อติดตะพาน หรือนมรับนิ้วจำนวน 9 อัน ตอนปลายคัน
ทวนทำเป็นรูปโค้ง และขดให้เป็นร่อง เจาะรูลอดลูกบิดข้างละ 2 อัน รวมเป็น 4 อัน
ลอดเข้า ไปในร่อง ลำหรับชิ้นลาย 4 ลาย ลายของซึงใช้ลายลวดขนาดเล็ก 2 ลาย และลายใหญ่
2 ลาย ซึ่งเป็นเครื่องดีดที่ซาวไทยทางภาคเหนือนิยมนำมาเล่นร่วมกับปีซอ และละล้อ
2.เครื่องดนตรีไทยประ๓ท
เครื่องสี
เครื่องลี
เป็นเครื่องลายที่ทำให้เกิดเลียงด้วยการใช้คันชักลีเข้ากับลาย โดยมากเรียกว่า “ซอ” เครื่องลีที่นิยมเล่น ได้แก่
เป็นซอลองลาย
กะโหลกของซอด้วงนั้นเดิมใช้กระบอกไม้ไผ่ บิจจุบันใช้!ม้จริง หรือ งาช้างทำก็ได้
แต่ที่นิยมทำด้วยไม้ลำเจียก ส่วนหน้าซอนิยมใช้หนังงูเหลือมขึง ด้านมือจับมี
หมุดลำหรับให้เส้นหางม้าคล้อง อีกด้านหนึ่งเจาะรูไว้ร้อยเส้นหางม้า
ลอดเส้นหางม้าให้อยู่ ภายในระหว่างลายเอกกับลายทุ้มลำหรับลี การเทียบเลียง
เทียบเลียงให้ตรงกับเลียงขลุ่ย เพียงออ เหตุที่เรียกว่า
ซอด้วงก็เพราะมีรูปร่างคล้ายเครื่องคักสัตว์ กระบอกไม้ไผ,เหมือนกัน
เป็นซอสองสาย
ตัวกะโหลกทำด้วยกะลามะพร้าว คันทวนทำด้วยไม้เนื้อแข็ง ตอนบนมี ลูกบิดสำหรับขึงสาย
สายซอทำด้วยไหมฟืน มีคันชักอยู่ระหว่างสาย ซออู้มีเสียงทุ้มตํ่า มีรูปร่าง คล้าย ๆ
กับซอของจีนที่เรียกว่า ฮู-ฮู้ (แน-เาน) เหตุที่เรียกว่าซออู้
ก็เพราะเรียกตามเสียงที่ได้ ยินนั่นเอง
เป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองล้านนาชนิดหนึ่ง
เป็นประเภทเครื่องสีซึ่งมีทั้ง 2 สาย และ 3 สาย
คันชักสำหรับสีจะอยู่ข้างนอกเหมือนคันชักซอสามสาย สะล้อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ทร้อ
หรือซะล้อ สะล้อใช้บรรเลงประกอบการแสดง หรือบรรเลงร่วมกับบทร้อง และทำนองเพลงได้
ทุกชนิด
ซอสามสาย
ส่วนต่าง ๆ ของซอสามสาย ดังนี้
1.ทวนบน
เป็นส่วนบนสุดชองคันซอ ทำหน้าที่คล้าย ๆ กับท่ออากาศ
2.ทวนล่าง
ทำเป็นรูปทรงกระบอก ทำหน้าที่เป็นตำแหน่งสำหรับกดนิ้วลงบนใน ตำแหน่งต่าง ๆ
3.พรมบน
คือส่วนที่ต่อจากทวนล่างลงมา ส่วนบนกลึงเป็นลูกแก้ว ส่วนตอนล่างทำ เป็น
รูปปากข้างเพื่อประกอบกับกะโหลกซอ
4.พรมล่าง
ส่วนที่ประกบกับกะโหลกซอ ทำเป็นรูปปากข้าง
5.ถ่วงหน้า
ควบคุมความถี่ชองเสียง ทำให้มีเสียงนุ่มนวลไพเราะ น่าฟืงยิ่งขึ้น
6.หย่อง
ทำด้วยไม้ไผ,
แกะให้เป็นลักษณะคู้ ปลายทั้งสองของหย่องคว้านเป็นเบ้า ขนมครก
เพื่อทำให้เสียงที่เกิดขึ้นล่งผ่านไปยังหน้าซอ มีความกังวานมากยิ่งขึ้น
7.กันสี
(กันชัก) ประกอบด้วย ไม้ และหางม้า กันสีนั้นเหลาเป็นรูปกันศร โดยมาก
นิยมใช้!ม้แก้ว เพราะเป็นไม้เนื้อแข็ง และมีลวดลายงดงาม
การสีซอ
วางคันสีให้ชิดด้านใน
ให้อยู่ในลักษณะเตรียมซักออก แล้วลากคันสีออกช้า ๆ ด้วยการ ใช้วิธีสีออก
ลากคันสีให้สุด แล้วเปลี่ยนเป็นสีเช้าในสายเดียวกัน ทำเรื่อยไปจนกว่าจะคล่อง
พอคล่องดีแล้ว ให้เปลี่ยนมาเป็นสีสายเอก โดยคันนิ้วนางกับนิ้วก้อยออกไปเล็กน้อย
ซอจะ เปลี่ยนเป็นเสียง ซอส ทันที คังนิ้คันสี ออก เช้า ออก เช้า เสียง โด โด ซอส
ซอส ‘ฝึกเรื่อยไป จนเกิดความชำนาญ
ข้อควรระวัง
ต้องวางซอให้ตรง โดยใช้มือซ้ายจับซอให้พอเหมาะ อย่าให้แน่นเกินไป อย่าให้
หลวมจนเกินไป ข้อมือที่จับซอต้องทอดลงไปให้พอดี ขณะนั่งสียืดอกพอสมควร อย่าให้หลัง
โกงได้ มือที่คีบซอให้ออกกำลังพอสมควรอย่าให้ซอพลิกไปมา
3.เครื่องดนตรีไทยประ๓ท
เครื่องตี
เครื่องตีแยกได้เป็น
3 ประเภทตามหน้าที่ในการเล่น คือ
1.เครื่องตีที่ทำจังหวะ
หมายถึง เครื่องตีที่เมื่อตีแล้วจะกลายเป็นเสียงที่คุมจังหวะกา เล่นของเพลงนั้น ๆ
ตลอดทั้งเพลง ได้แก่ ฉิ่ง และฉับ ถือเป็นหัวใจของการบรรเลง
2.เครื่องตีที่ประกอบจังหวะมีหลายอย่าง
เซ่น กลองแขก กลองทัด ตะโพนไทย ตะโพนมอญฉาบใหญ่ฉาบเล็ก กรับโหม่ง เปิงมางคอก
กลองตุ๊ก ฯลฯ
3.เครื่องตีที่ทำให้เกิดทำนอง
ได้แก่ ฆ้องไทยวงใหญ่ ฆ้องไทยวงเล็ก ฆ้องมอญวงใหญ่ ฆ้องมอญวงเล็ก ระนาดเอก
ระนาดทุ้ม ชิม อังกะลุง (บรรเลงเป็นวง)
ตัวอย่างของเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี
ได้แก่ กรับพวง
ทำด้วยไม้
หรือโลหะ ลักษณะเป็นแผ่นบางหลายแผ่นร้อยเช้าด้วยกัน ใช้!ม้หนาลองชิ้น ประกับไว้
วิธีตี ใช้มือหนึ่งถือกรับ แล้วดีกรับลงไปบนอีกมือหนึ่งที่รองรับ ทำให้เกิดเสียง
กระทบจากแผ่นไม้ หรือแผ่นโลหะดังกล่าว
วิวัฒนาการมาจากกรับ
ลูกระนาดทำด้วยไมไผ,บง หรือไม้แก่น ระนาดเอกในปัจจุบันมี จำนวน 21 ลูก มีความยาวประมาณ 120
ซม. มีเท้ารอง รางเป็นเท้าเดี่ยว รูปคล้ายกับพาน แว่นฟ้า
เป็นเครื่องดนตรีที่สร้างขึ้นมาในรัชกาลที่
3 สร้างเลียนแบบระนาดเอก มีรูปร่างคล้าย หีบไม้ แต่เว้าตรงกลางใท้โด้ง
รางระนาดทุ้มจะมีฃนาดยาวประมาณ 124 ซม. ปากรางกว้าง ประมาณ 22 ซม. มีเท้าเตี้ย ๆ
รองไว้ 4 มุมราง
ระนาดเอกเหล็ก
หรือระนาดทอง
ระนาดเอกเหล็ก
ประดิษฐ์ขึ้นในรัชกาลที่ 4 แต่เดิมลูกระนาดด้วยทองเหลือง จึงเรียก กันว่าระนาดทอง
ระนาดเอกเหล็กมีชนาด 23.5 ซม. กว้างประมาณ 5 ซม. ลดหลั่นขึ้นไป จนถึงลูกยอดที่มีชนาด
19 ซม. กว้างประมาณ 4 ซม. รางชองระนาดเอกเหล็กนั้นทำเป็นรูป ลี่เหลี่ยม
มีเท้ารองรับไว้ทั้ง 4 ด้าน
ระนาดทุ้มเหล็กมีจำนวน
16 หรือ 17 ลูก ตัวรางระนาดยาวประมาณ 1 เมตร ปากราง กว้างประมาณ 20 ซม.
มีเท้ารองติดลูกล้อ 4 เท้า เพื่อให้เคลื่อนที่ไปมาได้สะดวก ตัวรางสูง
จากพื้นถึงชอบบนประมาณ 26 ซม. ระนาดจะใช้!ม้ตี 2 อัน ทำไม้ตีเป็น 2 ชนิด
ชนิดหนึ่งทำ หัวไม้ตีให้แข็ง เมื่อตีจะมีเลียงตังเกรียวกราว
เมื่อนำเช้าผสมวงจะเรียกว่า “วงปีพาทย์ไม้แข็ง” อีกชนิดหนึ่งทำไม้ตีให้อ่อนนุ่มเมื่อตีจะเกิดเลียงนุ่มนวล เวลานำระนาดเอกที่ใช้!ม้ตีซนิดนี้มา
ผสมวง จะเรียกว่า “วงปีพาทย์ไม้นวม”
กลองแขก
มีรูปร่างยาวเป็นกระบอก
หน้าด้านหนึ่งใหญ่เรียกว่า “หน้าลุ่ย” หน้าด้านหนึ่งเล็ก
เรียกว่า “หน้าต่าน” หนังหน้ากลองทำด้วยหนังลูกวัว
หนังแพะ ใช้เส้นหวายผ่าซีกเป็นลายโยง เร่งให้ตึงด้วยรัดอก สำรับหนึ่งมีลองลูก
ลูกเลียงสูงเรียกว่า “ตัวผู้” ลูกเลียงตํ่าเรียกว่า
“ตัวเมีย” การตีใช้ฝ่ามือทั้งลองตีทั้งลองหน้าให้เลียงลอดสลับกันทั้งลองลูก
รูปร่างเหมือนกลองแขกแต่สั้นกว่า
หน้าหนึ่งใหญ่ อีกหน้าหนึ่งเล็ก ใช้ตีด้วย'ใน้งอ ๆ หรือหวาย
ทางด้านหน้าใหญ่ เดิมกลองชนะน่าจะใช้ในกองทัพ หรือในการสงคราม ต่อมาใช้
เป็นเครื่องประโคมในกระบวนพยุหยาตรา และใช้ประโคมพระบรมศพ พระศพ และศพ ตาม
เกียรติยศของงาน
หุ่นกลองทำด้วยไม้
ตอนหน้าใหญ่ ตอนท้ายเรียวแล้วบานปลายเป็นรูปดอกลำโพงมี หลายขนาด ขึ้นหนังหน้าเดียว
ตัวกลางนิยมตบแต่งให้สวยงามด้วยผ้าสี หรือผ้าดอกเย็บจีบย่น
ปล่อยเซิงเป็นระบายห้อยมาปกด้วยกลอง มีสายสะพายสำหรับคล้องสะพายบ่า
ใช้ตีด้วยฝ่ามือ แต่การเล่นโลดโผน อาจใช้ส่วนอื่น ๆ ของร่างกายตีก็มี
กลองยาวได้แบบอย่างมาจากพม่า นิยมเล่นในงานพิธีขบวนแห่ กลองชนิดนี้เรียกซื่อตามเสียงที่ตีได้อีกซื่อหนึ่งว่า
“กลองเถิดเทิง”
ทำด้วยไม้เนื้อแข็ง
ขุดแต่งให้เป็นโพรงภายใน ขึ้นหนังสองหน้า ตรงกลางป่อง และ ลอบไปทางหน้าทั้งลอง
หน้าหนึ่งใหญ่เรียกว่า “หน้าเทิ่ง” หรือ “หน้าเท่ง”
ปกติอยู่ด้าน ขวามือ อีกหน้าหนึ่งเล็ก เรียกว่า “หน้ามัด” ใช้ลายหนังเรียกว่า “หนังเรียด”
โยงเร่งเสียง ระหว่างหน้าทั้งลอง ตรองรอบขอบหนังขึ้นหน้าทั้งลองช้าง
ถักด้วยหนังตีเกลียวเป็นเส้นเล็ก ๆ เรียกว่า “ไล้ละมาน”
ล่าหรับใช้ร้อยหนังเรียด โยงไปโดยรอบจนหุ้มไม้หุ่นไว้หมด ตอนกลาง
หุ่นใช้หนังเรียดพันโดยรอบเรียกว่า “รัดอก” หัวตะโพนวางนอนอยู่บนเท้าที่ทำด้วยไม้ใช้ฝ่า มือซ้าย - ขวาตีทั้งลองหน้า
ทำด้วยโลหะแผ่นรูปวงกลม
ตรงกลางทำเป็นปมนูน เพื่อใช้รองรับการดีให้เกิดเสียง เรียกว่า ปมฆ้อง
ต่อจากปมเป็นฐานแผ่ออกไป แล้วงองุ้มลงมาโดยรอบเรียกว่า “ฉัตร” ส่วนที่ เป็นพื้นราบรอบปมเรียกว่า “หลังฉัตร” หรือ “ซานฉัตร”
ส่วนที่งอเป็นของเรียกว่า “ใบฉัตร” ที่ใบฉัตรนี้จะมืรูเจาะล่าหรับร้อยเชือก หรือหนังเพื่อแขวนฆ้อง
ล้าแขวนตีทางตั้งจะเจาะลองรู ล้าแขวนตีทางนอนจะเจาะลี่รู
การบรรเลงฆ้องใช้ในการบรรเลงได้ลองลักษณะคือ ใช้ตีกำกับ จังหวะ
และใซ้ตีดำเนินทำนอง ฆ้องที่ใซ้ตีกำกับจังหวะได้แก่ ฆ้องทุย หรือฆ้องชัย ฆ้องโหม่ง
ฆ้องเหม่ง ฆ้องระเบ็ง
ฆ้องที่ใซ้ตีดำเนินทำนองได้แก่
ฆ้องราง ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ฆ้องมโหรี ฆ้องมอญ ฆ้องกะแต และฆ้องทุย หรือฆ้องชัย
ฆ้องกะแต
เปีนเครื่องตีกำกับจังหวะ
ทำด้วยโลหะ รูปร่างคล้ายฉิ่ง แต่มีขนาดใหญ่กว่าและหล่อ บางกว่า มีสองขนาด
ขนาดใหญ่กว่า เรียกว่า ฉาบใหญ่ ขนาดเล็กกว่า เรียกว่า ฉาบเล็ก การตี จะตีแบบประกบ
และตีแบบเปิด'ให้เสียงต่างกัน
เปีนเครื่องตีกำกับจังหวะ
ทำด้วยโลหะ หล่อหนา รูปร่างกลม เว้ากลาง ปากผาย คล้าย ฝาขนมครกไม่มีจุก
สำรับหนึ่งมีสองฝาเจาะรูตรงกลางที่เว้า สำหรับร้อยเชือกโยงฝาทั้งสอง
เพื่อสะดวกในการถือตี ฉิ่งมีสองขนาด ขนาดใหญ่ใช้ประกอบวงปีพาทย์ ขนาดเล็กใช้กับวง
เครื่องสายและมโหรี
4.เครื่องดนตรีไทยประเภท
เครื่องเป่า
ทำด้วยไมีไผ,ปล้องยาว ๆ เจาะข้อทะลุ ย่างไฟให้แห้ง ตบแต่งผิวให้ไหม้เกรียมเปีน
ลวดลายสวยงาม ด้านหน้าเจาะรูกลม ๆ เรียงแถวกัน 7 รู สำหรับปิดเปิดเสียง
ขลุ่ยไม่มีสิ้น เหมือนปี แต่ใช้ไม้อุดเต็มปล้อง
แล้วปาดด้านล่างให้มีซ่องไม้อุดนี้เรียกว่า “ดาก” ด้านหลังใต้ ดากลงมาเจาะรูเปีนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
แต่ปาดตอนล่างเป็นทางเฉียงไม่เจาะทะลุตรงเหมือนรู ด้านหน้า เรียกว่า “รูปากนกแก้ว” ใต้รูปากนกแก้วลงมาเจาะรูอีก 1 รู
เรียกว่า “รูนิ้วคํ้า”
เจาะรูอีกรูหนึ่งเรียกว่า
“รูเยื่อ” ขลุ่ย 1 เลา จะมีรู'ทั้งสิ้น
14 รู
ขลุ่ยมีทั้งหมด
3 ชนิด คือ 1. ขลุ่ยหลีบ มี,ขนาดเล็ก 2. ขลุ่ยเพียงออ มี,ขนาดกลาง
3.
ขลุ่ยอู้ มี,ขนาดใหญ่
เป็นเครื่องดนตรีไทยแท้
ๆ ทำด้วยไม้จริง กลึงให้เป็นรูปบนหัวบานท้าย ตรงกลางป่อง เจาะภายในให้กลวงตลอดเวลา
ทางหัวของปีเป็นซ่องรูเล็ก ส่วนทางปลายของปีปากรูใหญ่ ส่วนหัวเรียก “ทวนบน” ส่วนท้ายเรียก “ทวนล่าง”
ตอนกลางของปีเจาะรูนิ้วสำหรับเปลี่ยน เสียงลงมาจำนวน 6 รู
รูตอนบนเจาะเรียงลงมา 4 รู เจาะรูล่างอีก 2 รู ตรงทวนบนใส่ลิ้นปีที่
ทำด้วยใบตาลซ้อนกัน 4 ขั้น ตัดให้กลมแล้วนำไปผูกติดกับท่อลมเล็ก ๆ ที่เรียกว่า “กำพวด” กำพวดนิ้ทำด้วยทองเหลือง เงิน นาค หรือโลหะ
การผูกใช้วิธีผูกที่เรียกว่า “ผูกตะกรุดเบ็ด”
ปีของไทยจัดได้เป็น
3 ชนิด ดังนี้
1.ปีนอก
มี,ขนาดเล็ก เป็นปีที่ใช้กันมาแต่เดิม
2.ปีกลาง
มี,ขนาดกลาง สำหรับเล่นประกอบการแสดงหนังใหญ่ มีสำเนียงเสียงอยู่
ระหว่างปีนอกกับปีใน
3.ปีใน
มี,ขนาดใหญ่ เป็นปีที่พระอภัยมณีใช้สำหรับเป่าให้นางผีเสื้อสมุทร วงดนตรีไทย
แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
1.วงเครื่องสาย
มี 4 แบบ คือ วงเครื่องสายไทยเครื่องเดี่ยว, วงเครื่องสายไทยเครื่อง
คู่, วงเครื่องสายผสม และวงเครื่องสายปีขวา
2.วงมโหรี
ประกอบด้วยเครื่องดนตรีผสม ทั้ง ดีด สีตี เป่า เป็นวงดนตรีที่ใช้บรรเลง
เพื่อขับกล่อม ไม่นิยมบรรเลงในการแสดงใด ๆ วงมโหรีมี 5 แบบ คือ 1)
วงมโหรีเครื่องสี
2)
วงมโหรีเครื่องหก 3) วงมโหรีเครื่องเดี่ยว หรือวงมโหรีเครื่องเล็ก 4)
วงมโหรีเครื่องคู่ และ 5) วงมโหรีเครื่องใหญ่
3.วงปีพาทย์
ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภท ตี เป่า และเครื่องประกอบจังหวะ
ใช้บรรเลงในงานพระราชพิธี และพิธีต่าง ๆ แบ่งตามขนาดได้ดังนี้
3.1วงปีพาทย์เครื่องสิบ
3.2วงปีพาทย์เครื่องห้า
แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ ปีพาทย์เครื่องห้าอย่างหนัก และปีพาทย์เครื่องห้าอย่างเบา
3.3วงปีพาทย์เครื่องคู่
3.4วงปีพาทย์เครื่องใหญ่
นอกจากนิ้วงปีพาทย์ยังมีอีก
3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ วงปีพาทย์นางหงส์ วงปีพาทย์ มอญ วงปีพาทย์ดึกดำบรรพ์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น