เรื่องที่ 2.3
ประวัติคุณค่าภูมิปัญญาทางดนตรีไทย
ภูมิปัญญาไทย
มีคุณค่า และความสำคัญอย่างไร
1.ภูมิปัญญาไทยแสดงให้เห็นถึงการอนุรักษ์ที่ดีงาม
ทั้งจารีตประเพณี วัฒนธรรม
และการประดิษฐ์คิดค้นเพื่อใช้ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งอย่างมีคุณค่า
2.ภูมิปัญญาไทยก่อให้เกิดการคิดริเริ่มสร้างสรรค์คุณค่าทางสังคมใหม่
ทั้งในสิ่งที่เป็น รูปธรรม และนามธรรม
3.ภูมิปัญญาไทยก่อให้เกิดการผลิตภัณฑ์
การแปรรูป และการสร้างอาชีพใหม่ ทั้ง ค้านการผลิตสิ่งใหม่ และวิธีการผลิตสิ่งใหม่
ๆ
4.ภูมิปัญญาไทยก่อให้เกิดเอกลักษณ์ของห้องถิ่น
5.ภูมิปัญญาไทยก่อให้เกิดศิลปะของชาติ
เซ่น จิตรกรรมลายไทย การฟ้อนรำ เครื่อง ดนตรีไทย แสดงถึงความเป็นอารยธรรมของชาติ
6.ภูมิปัญญาไทยไค้เสริมสร้างความสงบสุขในการดำรงชีวิต
7.ภูมิปัญญาไทยสามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ
และคุณค่าทางสังคมไค้
8.ช่วยสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
9.เสริมสร้างให้คนไทยเกิดความภาคภูมิใจในคักดศรี
และเกียรติภูมิในความเป็นไทย
10.สามารถนำไปลู่การเปลี่ยนแปลง
และปรับปรุงวิถีชีวิตให้เกิดการเหมาะสมไค้ตาม
ยุคตามสมัย
บุคคลและภูมิปัญญาทางดนตรีไทยที่สำคัญ
มีใครบ้าง
บุคคล
และภูมิปัญญาทางดนตรีไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีจำนวนมาก อาทิเซ่น
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
(รัชกาลที่ 2) ทรงพระราชนิพนธ์เพลง บุหสันลอยเลื่อน หรือบุหสันลอยฟ้า
ครูมนตรี
ตราโมท เกิดเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2443 จังหวัดสุพรรณบุรี
ไค้แต่งเพลงต้อยติ่ง 3 ชั้น และมีความสามารถในการตีขิมอย่างยิ่ง
พระยาประสานดุรียศัพท์
(แปลก ประลานศัพท์) เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2403
ไค้เป็นเจ้ากรมปีพาทย์หลวงในสมัยรัชกาลที่ 6 และไค้แต่งเพลงเชิดจั่น 3 ชั้น
พม่าหัว ท่อน เขมรราชบุรี เขมรปากท่อ เขมรใหญ่ ดอนสมอ ทองย่อน เทพรัญจวน
แมลงภู่ทอง สานไมใน อาถรรพ์ พราหมณ์เข้าโบสถ์ ธรณีร้องไห้ มอญร้องไห้ เป็นต้น
มีความสามารถ ในทางดนตรีอย่างมากโดยเฉพาะเรื่องขลุ่ย
ครูบุญยงค์
เกตุคง ได้เป็นหัวหน้าวงดนตรีไทยกรุงเทพมหานครจนเกษียณอายุ เป็น
ผู้มีความเชี่ยวชาญในทางดนตรีอย่างยิ่ง บรรเลงปีพาทยได้ทุกชนิด
โดยเฉพาะระนาดเอกซึ่ง ได้รับการยกย่องเป็นพิเศษได้แต่งเพลงไว้จำนวนมาก เซ่น
โหมโรงแว่นเทียนชัย โหมโรง จุฬามณี โหมโรงสามสถาบัน เพลงเทพชาตรี เถา
เพลงสร้อยลำปาง เถา เพลงวัฒนา เวียตนาม เถา เพลงซเวดากอง เถา เพลงสยาม'านุสสติ เถา เพลงนกกระจอกทอง เถา เพลงขอมกล่อมลูก เถา
เพลงเดือนหงายกลางป่า เถา และเพลงตระนาฏราช
พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์
กรมหมื่นพิไซยมหินทโรดม
ประสูติเมื่อวันที่
13 กันยายน พ.ศ. 2425 ได้ทรงแต่งเพลง “ลาวดวงเดือน”
ครูทองดี
สุจริตกุล เกิดเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2455 จังหวัดราชบุรี
มีความลามารถโดดเด่นในการเล่นจะเข้ เคยเดี่ยวจะเข้ถวายหน้าพระที่นั่ง และเคยอัด
แผ่นเลียงพระราชนิพนธ์ในพระบาทลมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2498
เริ่มเป็นครู ลอนในวิทยาลัยนาฏศิลป็ กรมศิลปากร ทำหน้าที่ลอนจะเข้ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ
เป็นผู้มีผลงานดืเด่นทางวัฒนธรรมลาชาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ประจำปี พ.ศ. 2538
หลวงประดิษฐ์ไพเพราะ
(ศร ศิลปบรรเลง) ได้แต่งเพลงไว้เป็นจำนวนร้อย ๆ เพลง
และมีชนิดที่ทำแนวทางบรรเลงเปลี่ยนไปจากของเก่า เรียกว่า “ทางเปลี่ยน” และเป็นผู้ ประดิษฐ์เครื่องดนตรี “อังกะลุง”
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น