เรื่องที่ 2.4 คุณค่าความงามความไพเราะของเพลง และเครื่องดนตรีไทย
เพลงและเครื่องดนตรีไทย มีคุณค่าและประโยชน์อย่างไร ประโยชน์ของดนตรีไทย
1.เป็นเครื่องมือที่สามารถตอบสนองความต้องการในการประเทืองอารมณ์
กระตุ้น ความรู้สึกของเราอย่างมาก
2.ทำให้มนุษย์อยู่อย่างมีอารมณ์
ความรู้สึก มีเครื่องมือประเทืองจิตใจ มีความ ละเอียดอ่อน
และเกิดความสุขความสนุกสนาน
3.ทำให้โลกมีความสดใส
มีสีสัน
4.ทำให้คนฟ้งรู้สึกผ่อนคลาย
จิตใจเบิกบาน
คุณค่าในดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม
และภูมิปัญญาไทย
1.
วัฒนธรรมทางดนตรีพื้นบ้านภาคกลาง ดนตรีพื้นบ้านภาคกลางส่วนใหญ่
ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทตี และเป่า เรียกรวมเป็นเครื่องตีเป่า
ซึ่งถือเป็นเครื่อง ประโคมดั้งเดิมที่เก่าแก่ที่สุด
และพัฒนาจนกลายเป็นวงปีพาทย์ในปัจจุบัน ดนตรีพื้นบ้านภาค กลางถือเป็นการถ่ายเทระหว่างวัฒนธรรมราษฎร์กับวัฒนธรรมหลวง
ซึ่งเป็นการผสมผสานจน
เกิดเป็นอัตลักษณ์ของวงดนตรีพื้นบ้านภาคกลางที่ต่างจากภาคอื่น ๆ
2.
วัฒนธรรมทางดนตรีพื้นบ้านภาคเหนือ ยุคแรกส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องดนตรี ประเภทตี
และไต้พัฒนาเป็นเครื่องดีด และลี ซึ่งเกิดการประดิษฐ์ธนู เพื่อเป็นเครื่องมือทั่ใซIน การส่าสัตว์ เซ่น พิณเพั๊ยะ ละล้อ ซึง ซอชนิดต่าง ๆ เป็นต้น
จากนั้นมนุษย์ไต้ประดิษฐ์ เครื่องเป่าขึ้น เซ่น ขลุ่ย และปี
ซึ่งเกิดจากการพิงเลียงกระแสลมที่พัดผ่านปากปล่องคูหาถํ้า หรือเลียงลมกระทบทิวไผ,ต้นไม้ต่าง ๆ เป็นต้น
3.
วัฒนธรรมทางดนตรีพื้นบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
-ดนตรีกลุ่มวัฒนธรรมหมอลำ
เป็นคนกลุ่มใหญ่ที่สุดในภาคอีสาน มีการขับ ร้อง และเป่าแคนประกอบ
พิณเป็นเครื่องดนตรีที่ไต้รับความนิยมรองลงมา จนกระทั่งปัจจุบัน
นิยมเล่นโปงลางกันอย่างแพร่หลายมากยิ่งขึ้น
-ดนตรีกลุ่มวัฒนธรรมกันตรีม
เป็นดนตรีขับร้องที่เรียกว่า เจรียง ซึ่งเป็น เครื่องดนตรีของซาวสุรินทร์
บุรีรัมย์ และศรีละเกษ
-ดนตรีกลุ่มวัฒนธรรมโคราช
เพลงโคราช เป็นการแสดงเซ่นเดียวกับลิเกชอง ภาคกลาง
ซึ่งเป็นการขับร้องโต้ตอบกันระหว่างหมอเพลงชายกับหมอเพลงหญิง
4.วัฒนธรรมทางดนตรีพื้นบ้านภาคใต้
ได้แก่
-วัฒนธรรมทางดนตรีที่เกี่ยวกับสิ่งศักดลิทธี้
ความเชื่อเรื่องภูตผีปีศาจ อำนาจ เร้นลับ
เพื่อให้เกิดคุณประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่
การเล่นมะตือรีในหมู่ซาวไทยมุสลิม และการเล่นตะครีมในหมู่ซาวไทยพุทธ เป็นต้น
-วัฒนธรรมทางดนตรีที่เกี่ยวช้องกับประเพณี
ในบั้นปลายชองชีวิตเมื่อถึงแก่ กรรมก็อาศัยเครื่องดนตรีเป็นเครื่องไปลู่สุคติ
ดังจะเห็นจากการเล่นกาหลอในงานศพ เพื่ออ้อน
วอนเทพเจ้าให้นำร่างชองผู้เลียชีวิตไปลู่ภพภูมิที่ดี
-วัฒนธรรมทางดนตรีที่เกี่ยวช้องกับการดำรงชีวิต
ซาวพื้นเมืองภาคใต้นิยม ประโคมโพนเป็นสัญญาณบอกกล่าวแก่ซาวบ้าน
เพื่อให้ซาวบ้านทราบว่าที่วัดมืการทำเรือพระ ลำหรับใช้ซักลากในเทศกาลซักพระ
-วัฒนธรรมทางดนตรีที่เกี่ยวช้องกับการเสริมสร้างความสามัคคี
เซ่น กรีอโต๊ะ และบานอ ซาวบ้านจะร่วมกันทำขึ้นมาเพื่อใช้เล่นสนุกร่วมกัน และใช้แช่งชันกับหมู่บ้านอื่น
เป็นต้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น