วันพฤหัสบดีที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
วันพุธที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
เรื่องที่ 4.2 คุณลักษณะของผู้ประกอบอาชีพการแสดง
คุณลักษณะของผู้ประกอบอาชีพการแสดง
1. มีความถนัดทางศิลปะการแสดง
2. มีสุนทรียะ สนใจสิ่งสวยงาม ดนตรี วรรณกรรม
3. มีอารมณ์อ่อนไหว
4. มีจินตนาการสูง มีความคิดสร้างสรรค์ และไม่ลอกเลียนแบบใคร โอกาสก้าวหน้าในอาชีพ
เป็นนักแสดง โอกาสก้าวหน้าขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้แสดง และความนิยมของผู้ชม ทั้งนี้อยู่ที่การพัฒนาตนเองและการใฝ่หาความรู้ของผู้ที่จะประกอบอาชีพ
1. มีความถนัดทางศิลปะการแสดง
2. มีสุนทรียะ สนใจสิ่งสวยงาม ดนตรี วรรณกรรม
3. มีอารมณ์อ่อนไหว
4. มีจินตนาการสูง มีความคิดสร้างสรรค์ และไม่ลอกเลียนแบบใคร โอกาสก้าวหน้าในอาชีพ
เป็นนักแสดง โอกาสก้าวหน้าขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้แสดง และความนิยมของผู้ชม ทั้งนี้อยู่ที่การพัฒนาตนเองและการใฝ่หาความรู้ของผู้ที่จะประกอบอาชีพ
หนังตะลุง คือ
ศิลปะการแสดงประจำท้องถิ่นอย่างหนึ่งของภาคใต้ เป็นการเล่าเรื่องราวที่
ผูกร้อยเป็นนิยาย ดำเนินเรื่องด้วยบทร้อยกรองที่ขับร้องเป็นลำเนียงท้องถิ่น
หรือที่เรียกกันว่าการ “ว่าบท’, มีบทสนทนาแทรกเป็นระยะ
และใช้การแสดงเงาบนจอผ้าเป็นสิ่งดึงดูดสายตาของผู้ชม ซึ่ง การว่าบท การสนทนา
และการแสดงเงานี้นายหนังตะลุงเป็นคนแสดงเองทั้งหมด
หนังตะลุงเป็นมหรสพที่นิยมแพร่หลายอย่างยิ่งมาเป็นเวลานาน
โดยเฉพาะในยุคสมัยล่อน ที่จะมีไฟฟ้าใช้กันทั่วถึงทุกหมู่บ้านอย่างในปัจจุบัน
หนังตะลุงแสดงไต้ทั้งในงานบุญและงานศพ ดังนั้นงานวัด งานศพ
หรืองานเฉลิมฉลองที่สำคัญจึงมักมีหนังตะลุงมาแสดงให้ชมด้วยเสมอ
สรุปสาระสำคัญ
ขั้นตอนการแสดงหนังตะลุง มีการลำดับการเล่น ดังนี้
1. ตั้งเครื่องเบิกโรง เป็นการทำพิธีเอาฤกษ์ ฃอที่ตั้งโรงและบิดเป่าเสนียดจัญไร เริ่ม โดยเมื่อคณะหนังขึ้นโรงแล้วนายหนังจะตีกลองนำเอาฤกษ์ ลูกคู่บรรเลงเพลงเชิด ขั้นนี้เรียก'ว่า ตั้งเครื่อง
2. โหมโรง การโหมโรงเป็นการบรรเลงดนตรีล้วน ๆ เพื่อเรียกคนดู และให้นายหนังได้ เตรียมพร้อม การบรรเลงเพลงโหมโรงเดิมที่เล่ากันว่าใช้ “เพลงทับ” คือใช้ทับเป็นตัวยืนและ เดินจังหวะทำนองต่าง ๆ กันไป
3. ออกลิงหัวคํ่า เป็นธรรมเนียมการเล่นหนังตะลุงสมัยก่อน ปัจจุบันเลิกเล่นแล้ว เช้าใจว่าได้รับอิทธิพลจากหนังใหญ่ เพราะรูปที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นรูปจับ มีฤาษีอยู่กลาง ลิงขาว กับลิงดำอยู่คนละช้าง แต่รูปที่แยกเป็นรูปเดี่ยวๆ 3 รูป แบบเดียวกับของหนังตะลุงก็มี
4. ออกฤาษี เป็นการเล่นเพื่อคารวะครู และบิดเป่าเสนียดจัญไร โดยขออำนาจจาก พระพรหม พระอิศวร พระนารายณ์ และเทวะอื่น ๆ และบางหนังยังขออำนาจจากพระ รัตนตรัยด้วย
5. ออกรูปฉะ หรือรูปจับ คำว่า “ฉะ” คือสู้รบ ออกรูปฉะเป็นการออกรูปจากพระราม กับทศกัณฐ์ให้ต่อสู้กัน วิธีเล่นใช้ทำนองพากย์คล้ายหนังใหญ่ การเล่นซุดนี้หนังตะลุงเลิกเล่นไป นานแล้ว
6. ออกรูปปรายหน้าบท รูปปรายหน้าบท เป็นรูปผู้ชายถือดอกบัวบ้าง ธงชาติบ้าง ถือ เป็นตัวแทนชองนายหนัง ใช้เล่นเพื่อไหว้ครู ไหว้สิ่งศักด์สิทธ์และผู้ที่หนังเคารพนับถือทั้งหมด ตลอดทั้งใช้ร้องกลอน ฝากเนื้อฝากตัวกับผู้ซม
7. ออกรูปบอกเรื่อง รูปบอกเรื่องเป็นรูปตลก หนังส่วนใหญ่ใช้รูปขวัญเมืองเล่นเพื่อ เป็นตัวแทนชองนายหนัง ไม่มีการร้องกลอน มีแต่พูด จุดประสงค์ชองการออกรูปนี้เพื่อบอก กล่าวกับผู้ซมถึงเรื่องนิยายที่หนังจะหยิบยกขึ้นแสดง
8. เกี้ยวจอ เป็นการร้องกลอนสั้น ๆ ก่อนตั้งนามเมืองเพื่อให้เป็นคติสอนใจแก่ผู้ซม หรือเป็นกลอนพรรณนา ธรรมชาติและความในใจ กลอนที่ร้องนี้หนังจะแต่งไว้ก่อน และถือว่า มีความคมคาย
9. ตั้งนามเมือง หรือตั้งเมือง เป็นการออกรูปกษัตริย์ โดยลมมติขึ้นเป็นเมือง ๆ หนึ่ง จากนั้นจึงดำเนินเหตุการณ์ไปตามเรื่องที่กำหนดไว้
อาชีพการแสดงลิเก
ขั้นตอนการแสดงลิเกมีวิธีการแสดง คือ เดินเรื่องรวดเร็ว ตลกซบชัน เริ่มด้วยโหมโรง 3 ลา จบแล้วบรรเลงเพลงสาธุการ ให้ผู้แสดงไหว้ครู แล้วจึงออกแขก บอกเรื่องที่จะแสดง สมัยก่อนมีการรำถวายมือหรือรำเบิกโรง แล้วจึงดำเนินเรื่อง ต่อมาการรำถวายมือก็เลิกไป ออกแขกแล้วก็จับเรื่องทันที การร่ายรำน้อยลงไปจนเกือบไม่เหลือเลย คงมืเพียงบางคณะที่ยัง ยึดศิลปะการรำอยู่
ผู้แสดง เดิมใช้ผู้ชายล้วน ต่อมาแสดงชายจริงหญิงแห้นั้น ผู้แสดงต้องมีปฏิภาณในการ ร้องและเจรจา ดำเนินเรื่องโดยไม่มืการบอกบทเลย หัวหน้าคณะจะเล่าให้พีงก่อนเท่านั้น นอกจากนี้ การเจรจาต้องตัดเลียงให้ผิดปกติ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ชองลิเก แต่ตัวสามัญซนและตัว ตลกพูดเลียงธรรมดา
เพลงและดนตรี ดำเนินเรื่องใช้เพลงหงส์ทองชั้นเดียว แต่ตัดแปลงให้ต้นไต้เนื้อความ มาก ๆ แล้วจึงรับด้วยปีพาทย์ แต่ถ้าเล่นเรื่องต่างภาษา ก็ใช้เพลงที่มืลำเนียงภาษานั้น ๆ ตาม ท้องเรื่อง แต่ด้นให้คล้ายหงส์ทอง ต่อมานายดอกดิน เสือสง่า ได้ดัดแปลงเพลงมอญครวญของ ลิเกบันตนที่ใซ้กับบทโศก มาเป็นเพลงแสดงความรักด้วย
เรื่องที่แสดง นิยมใช้เรื่องละครนอก ละครใน และเรื่องพงศาวดารจีน มอญ ญวน เซ่น ลามก๊ก ราชาธิราช
การแต่งกาย แต่งตัวด้วยเครื่องประดับสวยงาม เลียนแบบเครื่องทรงกษัตริย์จึงเรียกว่าลิเกทรงเครื่อง “สมัยของแพง” ก็ลดเครื่องแต่งกายที่แพรวพราวลงไป แต่บางคณะก็ ยังรักษาแบบแผนเดิมไว้ โดยตัวนายโรงยังแต่งเลียนแบบเครื่องทรงชองกษัตริย์ในส่วนที่มิใช่ เครื่องด้น เซ่น นุ่งผ้ายกทอง สวมเสื้อเข้มขาบหรือเยียรบับ แขนใหญ่ถึงข้อมือ คาดเข็มขัดนอก เสื้อ ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่าง ๆ แต่ดัดแปลงเลียใหม่ เซ่น เครื่องสวมศีรษะ เครื่องประดับหน้าอก ลายละพาย เครื่องประดับไหล่ ตัวนางนุ่งจีบยกทอง สวมเสื้อแขน กระบอกยาว ห่มสไบปีกแพรวพราว สวมกระบังหน้าต่อยอดมงกุฎ ที่แปลกกว่าการแสดงอื่น ๆ คือสวมถุงเท้ายาวลีขาวแทนการผัดฝุ่นอย่างละคร แต่ไม่สวมรองเท้า
สถานที่แสดง ลานวัด ตลาด สนามกว้าง ๆ โดยปลูกเพิงสูงระดับตา ด้านหน้าเป็นที่ แสดง ด้านหลังเป็นที่พักที่แต่งตัว

อาชีพการแสดงหมอลำ
คำว่า "ลำ" มีความหมายสองอย่าง อย่างหนึ่งเป็นชื่อของเรื่อง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของ การ ขับร้องหรือการลำ ที่เป็นชื่อของเรื่องได้แก่เรื่องต่าง ๆ เช่น เรื่องนกจอกน้อย เรื่อง ท้าวกํ่ากาดำ เรื่อง ขูลูนางฮั้ว เป็นต้น เรื่องเหล่านี้โบราณแต่งไว้เป็นกลอน แทนที่จะเรียกว่า เรื่องก็เรียกว่าลำ กลอนที่ เอามาจากหนังสือลำ เรียกว่ากลอนลำ
อีกอย่างหนึ่งหมายถึงการขับร้อง หรือการลำ การนำเอาเรื่องในวรรณคดีอีสานมา ขับร้อง หรือมาลำ เรียกว่า ลำ ผู้ที่มีความชำนาญในการขับร้องวรรณคดีอีสาน โดยการท่องจำเอากลอน มา ขับร้อง หรือผู้ที่ชำนาญ,ในการเล่านิทานเรื่องนั้น เรื่องนี้หลายๆ เรื่องเรียกว่า "หมอลำ"
วิวัฒนาการของหมอลำ
ความเจริญก้าวหน้าของหมอลำก็คงเหมือนกับความเจริญก้าวหน้าของสิ่งอื่นๆ เริ่มแรก คง เกิดจากผู้เฒ่าผู้แก่เล่านิทาน นิทานที่นำมาเล่าเกี่ยวกับจารีตประเพณีและศีลธรรม โดยเรียก ลูกหลาน ให้มาชุมนุมกัน ทีแรกนั่งเล่า เมื่อลูกหลานมาพีงกันมากจะนั่งเล่าไม่เหมาะ ต้องยืนขึ้นเล่า เรื่องที่ นำมาเล่าต้องเป็นเรื่องที่มีในวรรณคดี เช่น เรื่องกาฬเกษ สินชัย เป็นต้น ผู้เล่าเพียงแต่เล่า ไม่ออกท่า ออกทางก็ไม่สนุก ผู้เล่าจึงจำเป็นต้องยกไม้ยกมือแสดงท่าทางเป็น พระเอก นางเอก เป็นนักรบ เป็น ต้น
เพียงแต่เล่าอย่างเดียวไม่สนุก จึงจำเป็นต้องใช้สำเนียงสั้นยาว ใช้เสียงสูงตํ่า ประกอบ และ หาเครื่องดนตรีประกอบ เช่น ซุง ซอ ปี แคน เพื่อให้เกิดความสนุกครึกครื้น ผู้แสดง มีเพียงแต่ผู้ชาย อย่างเดียวดูไม่มีรสชาติเผ็ดมัน จึงจำเป็นต้องหา ผู้หญิงมาแสดงประกอบ เมื่อผู้หญิงมาแสดง ประกอบจึงเป็นการลำแบบสมบูรณ์ เมื่อผู้หญิงเข้ามาเกี่ยวข้องเรื่องต่างๆ ก็ตามมา เช่น เรื่องเกี้ยวพา ราสี เรื่องชิงดีชิงเด่น ยาด (แย่ง) ชู้ยาดผัวกัน เรื่องโจทย์ เรื่องแก้ เรื่องประชัน ขันท้า เรื่องตลกโปก ฮาก็ตามมา จึงเป็นการลำสมบูรณ์แบบ
จากการที่มีหมอลำชายเพียงคนเดียวค่อยๆ พัฒนาต่อมาจนมีหมอลำฝ่ายหญิง มีเครื่องดนตรีประกอบจังหวะเพื่อความสนุกสนาน จนกระทั่งเพิ่มผู้แสดงให้มีจำนวนเท่ากับตัวละครที่มีใน เรื่อง มีพระเอก นางเอก ตัวโกง ตัวตลก เสนา ครบถ้วน ซึ่งพอจะแบ่งยุคของวิวัฒนาการได้ตังนี้
ลำโบราณ เป็นการเล่าทานของผู้เฒ่าผู้แก'ให้ลูกหลานพีง ไม่มีท่าทางและดนตรีประกอบลูกคู่หรือลำกลอน เป็นการลำที่มีหมอลำชายหญิงสองคนสำสลับกัน มีเครื่องดนตรีประกอบ คือ แคน การสำมีทั้งสำเรื่องนิทานโบราณคดีอีสาน เรียกว่า ลำเรื่องต่อกลอน ลำทวย (ทายโจทย์) ป้ญหา ซึ่งผู้ลำจะต้องมี ปฏิภาณไหวพริบที่ดี สามารถตอบโต้ ยกเหตุผลมาหักล้างฝ่ายตรงข้ามได้ ต่อมามีการเพิ่มผู้สำ ขึ้นอีกหนึ่งคน อาจเป็นชายหรือหญิง ก็ได้ การสำจะเปลี่ยนเป็นเรื่อง ชิงรัก หัก สวาท ยาดชู้ยาดผัว เรียกว่า สำชิงชู้
ลำหมู่ เป็นการลำที่มีผู้แสดงเพิ่มมากขึ้น จนเกือบจะครบตามจำนวนตัวละครที่มีในเรื่อง มี เครื่องดนตรีประกอบเพิ่มขึ้น เช่น พิณ (ซุง หรือ ซึง) กลอง การลำจะมี 2 แนวทาง คือ ลำเวียง จะ เป็นการลำแบบสำกลอน หมอลำแสดง เป็นตัวละครตามบทบาทในเรื่อง การดำเนินเรื่องค่อนข้างช้า แต่ก็ไต้อรรถรสของละครพื้นบ้าน หมอลำไต้ใช้พรสวรรค์ของตัวเองในการลำ ทั้งทางต้านเสียงร้อง ปฏิภาณไหวพริบ และความจำเป็นที่นิยมในหมู่ผู้สูงอายุ ต่อมาเมื่อดนตรีลูกทุ่งมีอิทธิพลมากขึ้นจึง เกิดวิวัฒนาการของลำหมู่อีกครั้งหนึ่ง กลายเป็น สำเพลิน ซึ่งจะมีจังหวะที่เร้าใจชวนให้สนุกสนาน ล่อนการสำเรื่องในช่วงหัวคํ่าจะมีการนำเอารูปแบบของ วงดนตรีลูกทุ่งมาใช้เรียกคนลู กล่าวคือ จะ มีน้กร้อง (หมอลำ) มาร้อง เพลงลูกทุ่งที่กำลังฮิตในขณะนั้น มีหางเครื่องเต้นประกอบ นำเอาเครื่อง ดนตรีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้เช่นกีตาร์ คีย์บอร์ดแซ็กโซโฟนทรัมเปต และกลองชุด โดยนำมา ผสมผสานเข้ากับเครื่องดนตรีเดิมได้แก่ พิณ แคน ทำให้ไต้รสชาติของดนตรีที่แปลกออกไป ยุคนี้
นับว่า หมอลำเฟืองฟูมากที,สุด คณะหมอลำดังๆ ส่วนใหญ่จะอยู่ในแถบจังหวัด ขอนแก่น มหาสารคาม อุบลราชธานี
ลำซิ่ง หลังจากที่หมอลำคู่และหมอลำเพลิน ค่อยๆ เสื่อมความนิยมลงไป อันเนื่องมาจาก การก้าวเข้ามาของเทคโนโลยีวิทยุโทรทัศน์ ทำให้ดนตรีสตริงเข้ามาแทรกในวิถีชีวิตของผู้คนอีสาน ความนิยมของการชมหมอลำ ค่อนข้างจะลดลงอย่างเห็นได้ชัด จนเกิดความวิตกกังวลกันมากใน กลุ่มนักอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน แต่แล้วมนต์ขลังของหมอลำก็ได้กลับมาอีกครั้ง ด้วย รูปแบบที่สะเทือนวงการด้วยการแสดงที่เรียกว่า ลำชิ่ง ซึ่งเป็นวิวัฒนาการของลำคู่ (เพราะใช้หมอลำ 2-3 คน) ใช้เครื่องดนตรีสากลเข้าร่วมให้จังหวะเหมือนลำเพลิน มีหางเครื่องเหมือนดนตรีลูกทุ่ง กลอนลำสนุกสนานมีจังหวะอันเร้าใจ ทำให้ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ว จนกระทั่งระบาดไปสู' การแสดงพื้นบ้านอื่นให้ต้องประยุกต์ปรับตัว เช่น เพลงโคราชกลายมาเป็นเพลงโคราชซึ่ง กันตรึมก็กลายเป็นกันตรึมร็อคหนังปราโมนัย (หนังตะลุงอีสาน) กลายเป็นปราโมนัยซึ่ง ถึงกับมีการจัด ประกวดแข่งขัน บันทึกเทปโทรทัศน์จำหน่ายกันอย่างแพร่หลาย จนถึงกับ มีบางท่านถึงกับกล่าวว่า "หมอลำไม่มีวันตาย จากลมหายใจชาวอีสาน"
กลอนลำแบบต่างๆ
กลอนที่นำมาเสนอ ณ ที่นี้มีหลายกลอนที่มีคำหยาบโลนจำนวนมาก บางท่านอาจจะทำใจ ยอมรับไม่ได้ก็ต้องกราบขออภัยเพราะผู้จัดทำมีเจตนาที่จะเผยแพร่ไว้เพื่อเป็นการสืบสาน
วัฒนธรรมประเพณี มิได้มีเจตนาที่จะเสนอให้เป็นเรื่องลามกอนาจาร ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่า นี่คือ วิถีชีวิตของคนอีสาน กลอนลำทั้งหลายทั้งปวงผู้ลำมีเจตนาจะทำให้เกิดความสนุกสนาน ตลกโปก ฮาเป็นที่ตั้ง ท่านที่อยู่ในท้องถิ่นอื่นๆ ขอได้เข้าใจในเจตนาด้วยครับ สนใจในกลอนลำหัวข้อใดคลิก ที่หัวข้อนั้นเพื่อเข้าชมได้ครับ
กลอนที่นำมาร้องมาลำมีมากมายหลายอย่าง จนไม่สามารถจะกล่าวนับหรือแยกแยะได้
หมด แต่เมื่อย่อรวมลงแล้วจะมีอยู่สองประเภท คือ กลอนสั้นและกลอนยาว
กลอนสั้น คือ คำกลอนที่สั้นๆ สำหรับเวลามีงานเล็กๆ น้อยๆ เช่น งานทำบุญบ้าน หรืองาน ประจำปี เช่น งานบุญเดือนหกเป็นต้น กลอนสั้นมีดังต่อไปนี้
1. กลอนขึ้นลำ
2. กลอนลงลำ
3. กลอนลำเหมิดคืน
4. กลอนโด้น
5. กลอนติ่ง
6. กลอนต่ง
7. กลอนอัศจรรย์
8. กลอนสอย
9. กลอนหนังสือเจียง
10. กลอนเต้ยหรือผญา
11. ลำสีฟ้นดอน
12. ลำสั้น เรื่องติดเสน่ห์
กลอนยาว คือ กลอนสำหรับใช้ลำในงานการกุศล งานมหรสพต่างๆ กลอนยาวนี้ใช้เวลาลำ เป็นชั่วโมงบ้าง ครึ่งชั่วโมงบ้าง หรือแล้วแต่กรณี ล้าลำคนเดียวเช่น ลำพื้น หรือ ลำเรื่อง ต้องใช้เวลา ลำเป็นวันๆ คืนๆ ทั้งนี้แล้วแต่เรื่องที่จะลำสั้นหรือยาวแค่ไหน แบ่งออกเป็นหลายชนิดดังนี้
1. กลอนประวัติศาสตร์
2. กลอนลำพื้นหรือลำเรื่อง
3. กลอนเซิ้ง
4. กลอนสัอง
5. กลอนเพอะ
6. กลอนล่องของ
7. กลอนเว้าสาว
8. กลอนฟ้อนแบบต่างๆ
อุปกรณ์วิธีการแสดง ประกอบด้วยผู้แสดงและผู้บรรเลงดนตรีคือ หมอแคน แบ่งประเภท หมอลำดังนี้
1. หมอลำพื้น ประกอบด้วยหมอลำ 1 คน หมอแคน 1 คน
2. หมอลำกลอน ประกอบด้วย หมอลำ 2-3 คน และหมอแคน 1-2 คน
3. หมอลำเรื่องต่อกลอน ประกอบด้วยหมอลำหลายคน เรียก หมอลำหมู่ ดนตรีประกอบ คือ แคน พิณ ฉิ่ง กลอง และเครื่องดนตรีสากล
4. หมอลำเพลิน ประกอบด้วยหมอลำหลายคนและผู้บรรเลงดนตรีหลายคน
สถานที่แสดง เป็นมหรสพที่ใช้ในงานเทศกาล งานบวช งานกฐิน งานวันเกิด งานศพ ฯลฯ เป็นมหรสพที่ประชาชนชาวอีสานในอดีตนิยมชมชั่นมาก
ผู้ประสบความสำเร็จจากอาชีพการแสดงหมอลำ
หมอแป้น หรือ น.พ.สุชาติ ทองแป้น อายุรแพทย์ วัย 36 ปี เขาสามารถใช้ชีวิตอยู่ตรง กึ่งกลางระหว่างการเป็น "หมอรักษาคน" และ "หมอลำ" ได้ลงตัว อะไรที่ทำให้นายแพทย์คนหนึ่ง เลือกที่จะมีชีวิตสองขั้ว บนเสันทางคู่ขนานระหว่างความพ่นกับความเป็นจริง
"หมอแป้น" เป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลมหาสารคาม ผู้ที่ทุ่มเทให้กับการรักษาผู้ป่วยด้วย หัวใจเกินร้อย เขายังได้รับการยอมรับจากบุคลากรทุกระดับชั้นของโรงพยาบาล ว่าเป็นหมอที่มาก ด้วยประสิทธิภาพในการเยียวยารักษา เอาใจใส่ผู้ป่วย และนิสัยใจคอก็โอบอ้อมอารี
หมอแป้น เล่าว่า โดยส่วนตัวผมชอบหมอลำมาตั้งแต่เด็ก แล้วจำได้ว่าตอนที่เรียนหมออยู่ปี 4ที่คณะมีหมอลำเขามาเปิดสอนให้หัดร้องหัดลำ ผมก็อยากจะไปเรียนเพราะชอบมาตั้งนานแล้ว ก็ ไปบอกพ่อกับแม่ แต่เขาก็ไม่ให้เรียน บอกว่าอย่าเลย ผมเลยไม่ได้ไปสมัคร แต่ตอนนั้นก็จะไปดู หมอลำตลอด ลูจนถึง 6 โมงเช้า เกือบทุกวันเลย แต่ไม่ให้เสียการเรียน ถึงกลับมาเช้าเราก็ไปเข้า เรียนต่อได้ ไม่มีผลกระทบอะไร เพราะเราแบ่งเวลาเป็น และที่ลำหมอลำได้ก็ไม่ได้ไปเรียนที่ไหน อาศัยจำเอา ลูคนนั้นคนนี้แล้วก็จำ ต่อมาประมาณปี 2547 ก็เริ่มชักชวนเพื่อนๆ ในโรงพยาบาลตั้งวง หมอลำขั้นมา ชื่อว่า "บ้านร่มเย็น" ป้จจุบันมีสมาชิกประมาณ 30 คน มีทั้งแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ โภชนาการ แม่บ้าน ผู้ป่วย ฯลฯ ซึ่งช่วงแรกเป็นเงินของตัวเอง ต่อมาก็เป็นเงินกองทุนบ้านร่มเย็น เอาไว้ซื้อเครื่องสำอาง วิชาชีพ "หมอลำ" เป็นการแสดงพื้นบ้าน ที่หล่อเลี้ยง จิตวิญญาณของชาว อีสาน ที่ลูไปแล้วศาสตร์ทั้ง 2 นั้น ไม่น่าจะโคจรมาพบกันได้ ทำให้หน้าที่เป็นหมอรักษาคนไข้ กับ การแสดงความเพลิดเพลินให้คนลูมีความสุข ความเจริญก้าวหน้าในอาชีพ
แกการแสดงให้มีความชำนาญ และพัฒนาไปในสิ่งที่ดี มีความรับผิดชอบ จนเป็นที่ยอมรับ ของผู้ชมทั่วไป สามารถประสบความสำเร็จได้ สถานที่สำหรับศึกษาหมอลำ
โรงเรียนสอนหมอลำกลอน ลำชิ่ง (ศิลปะการแสดงพื้นบ้าน) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด สำหรับผู้ที่สนใจเรียนศิลปะการแสดง หมอลำกลอน แคนเต้าเดียว หรือลำ ชิ่ง การเรียนลำเรียนตั้งแต่ก่อนฟ้อน พื้นฐานต่างๆ ส่วนลำกลอนเรียน 5 ยก ลำชิ่ง 3-4 ยก
เรื่องที่ 4.1 คุณสมบัติของอาชีพนักแสดงที่ดี
คุณสมบัติของอาชีพนักแสดงที่ดี
ในการแสดงบทบาทต่างๆ นักแสดงต้องมีความรับผิดชอบ มีการซ้อมบทบาทที่ต้องแสดง โดยการศึกษาเนื้อเรื่อง และบทที่ได้รับมอบหมายให้แสดง แสดงบทตลก บทที่เคร่งเครียด โดยการ ใช้ถ้อยคำหรือกิริยาท่าทาง แสดงประกอบ อาจร้องเพลง เต้นรำ หรือฟ้อนรำ อาจชำนาญในการ แสดงบทบาทอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือการแสดงประเภทใดประเภทหนึ่งและอาจมีชื่อเรียกตาม บทบาทหรือประเภทของการแสดง
เรื่องที่3.5 การอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย
การอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย
นาฏศิลป์ไทย
เป็นผลผลิตทางวัฒนธรรมที่เป็นรูปธรรม
ซึ่งนับเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษของเราได้สร้างและสั่งสมภูมิปัญญามาแต่โบราณ
เป็นสิ่งที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของชาติซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นอารยประเทศของชาติไทยที่มีความเป็นเอกราชมาช้านาน
นานาประเทศในโลกต่างชื่นชนนาฏศิลป์ไทยในความงดงามวิจิตรบรรจงเป็นศิลปะที่มีคุณค่าควรแก่การอนุรักษ์และสืบทอด แนวทางในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย
1. การอนุรักษ์รูปแบบ หมายถึง
การรักษาให้คงรูปดังเดิม เช่น เพลงพื้นบ้านก็ต้องรักษาขั้นตอนการร้อง ทำนอง
การแต่งกาย ท่ารำ ฯลฯ หรือหากจะผลิตขึ้นใหม่ก็ให้รักษารูปแบบเดิมไว้
2. การอนุรักษ์เนื้อหา หมายถึง
การรักษาในด้านเนื้อหาประโยชน์คุณค่าด้วยวิธีการผลิต การรวบรวมข้อมูลเพื่อการศึกษา เช่น เอกสาร และสื่อสารสนเทศต่างๆ
การอนุรักษ์ทั้ง
2 แบบนี้ หากไม่มีการสืบทอดและส่งเสริม
ก็คงไว้ประโยชน์ในที่นี้จะขอนำเสนอแนวทางในการส่งเสริมเพื่ออนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย
ดังนี้
1.จัดการศึกษาเฉพาะทางส่งเสริมให้มีสถาบันการศึกษาด้านนาฏศิลป์จัดการเรียนการสอน เพื่อสืบทอดงานศิลปะด้านนาฏศิลป์ เช่น
วิทยาลัยนาฏศิลป์ สถาบันเอกชน องค์กรของรัฐบางแห่ง ฯลฯ
2.จัดการเรียนการสอนในขั้นพื้นฐาน
โดยนำวิชานาฏศิลป์จัดเข้าในหลักสูตรและเข้าสู่ระบบการเรียนการสอนทุกระดับ
ตามระบบที่ควรจะให้เยาวชนได้รับรู้เป็นขั้นตอนตั้งแต่อนุบาล – ประถม มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ตลอดจนสถาบันการศึกษาทุกระดับ
จัดรวบรวมข้อมูลต่างๆ
เพื่อประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า และบริการแก่ชุมชนได้ด้วย
เพื่อประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า และบริการแก่ชุมชนได้ด้วย
3.มีการประชาสัมพันธ์ในรูปแบบสื่อโฆษณาต่างๆทั้งวิทยุ โทรทัศน์ และหนังสือพิมพ์ โดยนำศิลปวัฒนธรรมด้านนาฏศิลป์เข้ามาเกี่ยวข้องเพื่อเป็นการสร้างบทบาทของความเป็นไทยให้เป็นที่รู้จัก
4.จัดเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม
ในรูปแบบการแสดงนาฏศิลป์แก่หน่วยงานรัฐและเอกชน
โดยทั่วไปทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
5.ส่งเสริมและปลูกฝังมรดกทางศิลปวัฒนธรรมภายในครอบครัว ให้รู้ซึ้งถึงความเป็นไทยและอนุรักษ์รักษาเอกลักษณ์ไทย
เรื่องที่ 3.4 รำวงมาตรฐาน
ประวัติรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
เป็นการแสดงมาจากรำโทน เป็นการละเล่นพื้นบ้านอย่างหนึ่งของชาวไทยที่บ่งบอกถึงความสนุกสนาน แต่เดิมรำโทนก็เล่นกันเป็นวงการเปลี่ยนจากรำโทนเป็นรำวงก็ยังคงรูปลักษณ์เดิมไว้ส่วนที่พัฒนาคือท่ารำ
จัดให้เป็นท่ารำไทยพื้นฐานอย่างง่ายๆ สู่โลกสากล เรียนรู้ง่าย เป็นเร็ว สนุก และเป็นแบบฉบับของไทยโดยแท้
ทางด้านเนื้อร้องได้พัฒนาในทำนองสร้างสรรค์ รำวงที่พัฒนาแล้วนี้เรียกว่า รำวงมาตรฐาน
เนื้อเพลงในรำวงมาตรฐานมีทั้งหมด 10 เพลง แต่ละเพลงจะบอกท่ารำ
(จากแม่บท) ไว้ให้พร้อมปฏิบัติ
เรื่องที่ 3.3 นาฏยศัพท์
นาฏยศัพท์
หมายถึง ศัพท์เฉพาะในทางนาฏศิลป์ ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้เป็นสัญลักษณ์และสื่อความหมายกันในวงการนาฏศิลป์ไทย นาฏยศัพท์ แบ่งออกเป็น 3 หมวด คือ
หมายถึง ศัพท์เฉพาะในทางนาฏศิลป์ ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้เป็นสัญลักษณ์และสื่อความหมายกันในวงการนาฏศิลป์ไทย นาฏยศัพท์ แบ่งออกเป็น 3 หมวด คือ
1. หมวดนามศัพท์ หมายถึง ท่ารำสื่อต่างๆ ที่บอกอาการของท่านั้นๆ
1.1 วง เช่น วงบน วงกลาง
1.2 จีบ เช่น จีบหงาย จีบคว่ำ จีบหลัง
1.3 ท่าเท้า เช่น ยกเท้า ประเท้า กระดก
2. หมวดกิริศัพท์ คือ ศัพท์ที่ใช้ในการปฏิบัติอาการกิริยา แบ่งออกเป็นศัพท์เสริมและศัพท์เสื่อม
2.1 ศัพท์เสริม หมายถึง ศัพท์ที่ใช้เสริมท่วงทีให้ถูกต้องงดงาม เช่น ทรงตัว ส่งมือ เจียง ลักคอ กด
ไหล่ ถีบเข่า เป็นต้น
2.2 ศัพท์เสื่อม หมายถึง ศัพท์ที่ใช้เรียกท่ารำที่ไม่ถูกระดับมาตรฐาน เพื่อให้ผู้รำรู้ตัวและต้องแก้ไข
ท่วงทีของตนให้เข้าสู่ระดับ เช่น วงล้า วงตัก วงล้น รำเลื้อย รำลน เป็นต้น
3. หมวดนาฏยศัพท์เบ็ดเตล็ด คือ ศัพท์ที่นอกเหนือจากนามศัพท์ กิริยาศัพท์ ซึ่งจัดไว้เป็นหมวดเบ็ดเตล็ด มีดังนี้
เหลี่ยม หมายถึง ระยะเข่าทั้งสองข้างแบะออก กว้าง แคบ มากน้อยสุดแต่จะเป็นท่าของพระ หรือนาง ยักษ์ ลิง เหลี่ยมที่กว้างที่สุด คือเหลี่ยมยักษ์
เดินมือ หมายถึง อาการเคลื่อนไหวของแขนและมือ เพื่อเชื่อมท่า
แม่ท่า หมายถึง ท่ารำตามแบบมาตรฐาน เช่น แม่บท
ขึ้นท่า หมายถึง ท่าที่ประดิษฐ์ให้สวยงาม แบ่งออกเป็น
ก. ขึ้นท่าใหญ่ มีอยู่ 4 ท่า คือ
1) ท่าพระสี่หน้า แสดงความหมายเจริญรุ่งเรือง เป็นใหญ่
2) ท่านภาพร แสดงความหมายเช่นเดียวกับพรหมสี่หน้า
3) ท่าเฉิดฉิน แสดงความหมายเกี่ยวกับความงาม
4) ท่าพิสมัยเรียงหมอน มีความหมายเป็นเกียรติยศ
ข. ขึ้นท่าน้อย มีอยู่หลายท่าต่างกัน คือ
1) ท่ามือหนึ่งตั้งวงบัวบาน อีกมือหนึ่งจีบหลัง
2) ท่ายอดต้องต้องลม
3) ท่าผาลาเพียงไหล่
4) ท่ามือหนึ่งตั้งวงบน อีกมือหนึ่งตั้งวงกลาง เหมือนท่าบังสุริยา
5) ท่าเมขลาแปลง คือมือข้างที่หงายไม่ต้องทำนิ้วล่อแก้ว
พระใหญ่ – พระน้อย หมายถึง ตัวแสดงที่มีบทสำคัญพอๆ กัน พระใหญ่ หมายถึงพระเอก เช่น อิเหนา พระราม ส่วนพระน้อย มีบทบาทเป็นรอง เช่น สังคามาระตา พระลักษณ์
นายโรง หมายถึง พระเอก เป็นศัพท์เฉพาะละครรำ
ยืนเครื่อง หมายถึง แต่งเครื่องละครรำครบเครื่อง
นางกษัตริย์ บุคลิกท่วงทีเรียบร้อย สง่ามีทีท่าเป็นผู้ดี
นางตลาด
ท่วงทีว่องไว สะบัดสะบิ้งไม่เรียบร้อย เช่น นางยักษ์ นางแมว เป็นต้น
ภาษาท่า หมายถึง การแสดงกิริยาท่าทางเพื่อสื่อความหมายแทนคำพูด ส่วนมากใช้ในการแสดงนาฏศิลป์และการแสดงละครต่างๆ ภาษาท่าแบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้
1.
ท่าทางที่ใช้แทนคำพูด เช่น ไป มา เรียก ปฏิเสธ ภาษาท่า หมายถึง การแสดงกิริยาท่าทางเพื่อสื่อความหมายแทนคำพูด ส่วนมากใช้ในการแสดงนาฏศิลป์และการแสดงละครต่างๆ ภาษาท่าแบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้
2. ท่าทางที่ใช้แทนอารมณ์ภายใน เช่น รัก โกรธ ดีใจ เสียใจ
3. ท่าแสดงกิริยาอาการหรืออิริยาบถ เช่น ยืน เดิน นั่ง
การร่ายรำท่าต่างๆ นำมาประกอบบทร้องเพลงดนตรี โดยมุ่งถึงความสง่างามของลีลาท่ารำ และจำเป็นต้องอาศัยความงามทางศิลปะเข้าช่วย วิธีการใช้ท่าทางประกอบบทเรียน บทพากย์ และเพลงดนตรีพันทางนาฏศิลป์เรียกว่า การตีบท หรือการรำบท
เรื่องที่ 3.2 ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
นาฎศิลป์ไทย
เป็นศิลปะที่รวมศิลปะทุกแขนงเข้าด้วยกัน แบ่งออกตามลักษณะของ รูปแบบการแสดงเป็น 4
ประเภท คือ โขน ละคร รำและระบำ และการละเล่นพื้นเมือง
1. โขน
เป็นศิลปะของการรำ การเต้น แสดงเป็นเรื่องราว โดยมีศิลปะหลายรูปแบบผสมผสานกัน ลักษณะการแสดงโขนมีหลายชนิด ได้แก่ โขนกลางแปลง โขนนั่งราว โขนโรงใน โขนหน้าจอ และโขนฉาก ซึ่งโขนแต่ละชนิดมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว สิ่งสำคัญที่ประกอบการแสดงโขน คือ บทที่ใช้ประกอบการแสดงจากเรื่องรามเกียรติ์ การแต่งกายมีหัวโขน สำหรับสวมใส่เวลาแสดงเพื่อบอกลักษณะสำคัญ ตัวละครมีการพากย์ เจรจา ขับร้อง และดนตรีบรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ ยึดระเบียบแบบแผนในการแสดงอย่างเคร่งครัด
เป็นศิลปะของการรำ การเต้น แสดงเป็นเรื่องราว โดยมีศิลปะหลายรูปแบบผสมผสานกัน ลักษณะการแสดงโขนมีหลายชนิด ได้แก่ โขนกลางแปลง โขนนั่งราว โขนโรงใน โขนหน้าจอ และโขนฉาก ซึ่งโขนแต่ละชนิดมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว สิ่งสำคัญที่ประกอบการแสดงโขน คือ บทที่ใช้ประกอบการแสดงจากเรื่องรามเกียรติ์ การแต่งกายมีหัวโขน สำหรับสวมใส่เวลาแสดงเพื่อบอกลักษณะสำคัญ ตัวละครมีการพากย์ เจรจา ขับร้อง และดนตรีบรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ ยึดระเบียบแบบแผนในการแสดงอย่างเคร่งครัด
ประเภทของโขน
โขน เป็นศิลปะการแสดงที่มีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพทางสังคมขนบธรรมเนียมประเพณี ทำให้เกิดรูปแบบของโขน หลายรูปแบบ ซึ่งสามารถแบ่งประเภทตามลักษณะองค์ประกอบของการแสดง ดังนี้
1. โขนกลางแปลง เป็นโขนที่แสดงกลางสนาม ใช้ธรรมชาติ เป็นฉากประกอบ นิยมแสดงตอนที่มีการทำศึกสงคราม เพราะจะต้องใช้ตัวแสดงเป็นจำนวนมาก และต้องการแสดงถึงการเต้นของโขน การเคลื่อนทัพของทั้งสองฝ่าย การต่อสู้ ระหว่างฝ่ายพระราม พระลักษณ์ พลวานร กับฝ่ายยักษ์ ได้แก่ ทศกัณฑ์
2. โขนโรงนอก หรือโขนนั่งราว เป็นโขนที่มีวิวัฒนาการมาจากโขนกลางแปลง หากเปลี่ยนสถานที่แสดงบนโรง มีราวไม้ไผ่ขนาดใหญ่อยู่ด้านหลัง สำหรับตัวโขน นั่งแสดง รูปแบบของการแสดงดำเนินเรื่องด้วยการพากย์และเจรจา
3. โขนโรงใน เป็นการนำเอารูปแบบการแสดงโขนโรงนอก มาผสมผสานกับการแสดงละครใน ที่มีการขับร้อง และการร่ายรำของผู้แสดง ดำเนินเรื่องด้วยการพากย์ เจรจา มีการขับร้อง ประกอบท่ารำ เพลงระบำผสมผสานอยู่ด้วย
4. โขนหน้าจอ ได้แก่ โขนที่ใช้จอหนังใหญ่เป็นฉากประกอบการแสดง กล่าวคือ มีจอหนังใหญ่เป็นฉาก ที่ด้านซ้ายขวาเขียนรูปปราสาท และพลับพลาไว้ทั้งสองข้าง ตัวแสดงจะออกแสดงด้านหน้าของจอหนังดำเนินด้วยการพากย์ เจรจา ขับร้อง รวมทั้งมีการจัดระบำ ฟ้อนประกอบด้วย
5. โขนฉาก เป็นรูปแบบโขนที่พัฒนาเป็นลำดับสุดท้าย กล่าวคือเป็นการแสดงในโรง มีการจัดทำฉาก เปลี่ยนไปตามเรื่องราวที่กำลังแสดง ดำเนินเรื่องด้วยการพากย์ เจรจา และขับร้อง ร่ายรำประกอบคำร้องมีระบำ ฟ้อนประกอบ
โขน เป็นศิลปะการแสดงที่มีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพทางสังคมขนบธรรมเนียมประเพณี ทำให้เกิดรูปแบบของโขน หลายรูปแบบ ซึ่งสามารถแบ่งประเภทตามลักษณะองค์ประกอบของการแสดง ดังนี้
1. โขนกลางแปลง เป็นโขนที่แสดงกลางสนาม ใช้ธรรมชาติ เป็นฉากประกอบ นิยมแสดงตอนที่มีการทำศึกสงคราม เพราะจะต้องใช้ตัวแสดงเป็นจำนวนมาก และต้องการแสดงถึงการเต้นของโขน การเคลื่อนทัพของทั้งสองฝ่าย การต่อสู้ ระหว่างฝ่ายพระราม พระลักษณ์ พลวานร กับฝ่ายยักษ์ ได้แก่ ทศกัณฑ์
2. โขนโรงนอก หรือโขนนั่งราว เป็นโขนที่มีวิวัฒนาการมาจากโขนกลางแปลง หากเปลี่ยนสถานที่แสดงบนโรง มีราวไม้ไผ่ขนาดใหญ่อยู่ด้านหลัง สำหรับตัวโขน นั่งแสดง รูปแบบของการแสดงดำเนินเรื่องด้วยการพากย์และเจรจา
3. โขนโรงใน เป็นการนำเอารูปแบบการแสดงโขนโรงนอก มาผสมผสานกับการแสดงละครใน ที่มีการขับร้อง และการร่ายรำของผู้แสดง ดำเนินเรื่องด้วยการพากย์ เจรจา มีการขับร้อง ประกอบท่ารำ เพลงระบำผสมผสานอยู่ด้วย
4. โขนหน้าจอ ได้แก่ โขนที่ใช้จอหนังใหญ่เป็นฉากประกอบการแสดง กล่าวคือ มีจอหนังใหญ่เป็นฉาก ที่ด้านซ้ายขวาเขียนรูปปราสาท และพลับพลาไว้ทั้งสองข้าง ตัวแสดงจะออกแสดงด้านหน้าของจอหนังดำเนินด้วยการพากย์ เจรจา ขับร้อง รวมทั้งมีการจัดระบำ ฟ้อนประกอบด้วย
5. โขนฉาก เป็นรูปแบบโขนที่พัฒนาเป็นลำดับสุดท้าย กล่าวคือเป็นการแสดงในโรง มีการจัดทำฉาก เปลี่ยนไปตามเรื่องราวที่กำลังแสดง ดำเนินเรื่องด้วยการพากย์ เจรจา และขับร้อง ร่ายรำประกอบคำร้องมีระบำ ฟ้อนประกอบ
ละคร คือ การแสดงที่เล่นเป็นเรื่องราว มุ่งหมายก่อให้เกิดความบันเทิงใจ สนุกสนาน เพลิดเพลิน หรือเร้าอารมณ์ ความรู้สึกของผู้ดู ตามเรื่องราวนั้น ๆ ขณะเดียวกันผู้ดูก็จะได้แนวคิดคติธรรมและปรัชญา จากการละครนั้น
ประเภทของละครไทย
ละครไทยเป็นละครที่มีพัฒนาการมาเป็นลำดับ ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงปัจจุบัน ดังนั้นละครไทยจึงมีรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ได้ ประเภทดังต่อไปนี้
1.ละครรำ
2.ละครร้อง
3.ละครพูด
ประเภทของละครไทย
ละครไทยเป็นละครที่มีพัฒนาการมาเป็นลำดับ ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงปัจจุบัน ดังนั้นละครไทยจึงมีรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ได้ ประเภทดังต่อไปนี้
1.ละครรำ
2.ละครร้อง
3.ละครพูด
รำและระบำ
1. รำและระบำมีลักษณะของรูปแบบการแสดงนาฏศิลป๋ไทยอย่างไร
รำและระบำ เป็นศิลปะแห่งการร่ายรำประกอบเพลงดนตรี และบทขับร้อง โดย ไม่เล่นเป็นเรื่องราว รำและระบำมีลักษณะการแสดงแบบมาตรฐานที่เน้นเรื่องสวยงาม ความพร้อม เพรียงใช้ระยะเวลาการแสดงสั้น ๆ ซมแล้วไม่เกิดความเบื่อหน่าย 2. รำมีความหมายอย่างไร
รำ หมายถึง ศิลปะแห่งการร่ายรำที่มีผู้แสดง ตั้งแต่ 1 - 2 คน เซ่น การรำเดี่ยว การรำ คู่ การรำอาวุธ เป็นด้น มีลักษณะการแต่งกายตามรูปแบบของการแสดง ไม่เล่นเป็นเรื่องราว อาจมีบทขับร้อง ประกอบการรำเช้ากับทำนองเพลงดนตรี มีกระบวนท่ารำ โดยเฉพาะการรำคู่ จะต่างกับระบำเนื่องจากท่ารำจะมีความเชื่อมโยงลอดคล้องต่อเนื่องกัน และเป็นบทเฉพาะ ลำหรับผู้แสดงนั้น ๆ เซ่น รำเพลงช้าเพลงเร็ว รำแม่บท รำเมขลา - รามสูร เป็นด้น 3. ระบำมีความหมายอย่างไร
ระบำ หมายถึง ศิลปะแห่งการร่ายรำที่มีผู้เล่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป มีลักษณะการแต่ง กายคล้ายคลึงกัน กระบวนท่าร่ายรำคล้ายคลึงกัน ไม่เล่นเป็นเรื่องราว อาจมีบทขับร้อง ประกอบการรำเช้าท่านองเพลงดนตรี ซึ่งระบำแบบมาตรฐานมักบรรเลงด้วยวงปีพาทย์ การแต่งกายนิยมแต่งกายยืนเครื่องพระนาง หรือแต่งแบบนางในราชลำนัก เซ่น ระบำลี่บท ระบำกฤษดาภินิหาร ระบำฉิ่ง เป็นด้น
1. รำและระบำมีลักษณะของรูปแบบการแสดงนาฏศิลป๋ไทยอย่างไร
รำและระบำ เป็นศิลปะแห่งการร่ายรำประกอบเพลงดนตรี และบทขับร้อง โดย ไม่เล่นเป็นเรื่องราว รำและระบำมีลักษณะการแสดงแบบมาตรฐานที่เน้นเรื่องสวยงาม ความพร้อม เพรียงใช้ระยะเวลาการแสดงสั้น ๆ ซมแล้วไม่เกิดความเบื่อหน่าย 2. รำมีความหมายอย่างไร
รำ หมายถึง ศิลปะแห่งการร่ายรำที่มีผู้แสดง ตั้งแต่ 1 - 2 คน เซ่น การรำเดี่ยว การรำ คู่ การรำอาวุธ เป็นด้น มีลักษณะการแต่งกายตามรูปแบบของการแสดง ไม่เล่นเป็นเรื่องราว อาจมีบทขับร้อง ประกอบการรำเช้ากับทำนองเพลงดนตรี มีกระบวนท่ารำ โดยเฉพาะการรำคู่ จะต่างกับระบำเนื่องจากท่ารำจะมีความเชื่อมโยงลอดคล้องต่อเนื่องกัน และเป็นบทเฉพาะ ลำหรับผู้แสดงนั้น ๆ เซ่น รำเพลงช้าเพลงเร็ว รำแม่บท รำเมขลา - รามสูร เป็นด้น 3. ระบำมีความหมายอย่างไร
ระบำ หมายถึง ศิลปะแห่งการร่ายรำที่มีผู้เล่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป มีลักษณะการแต่ง กายคล้ายคลึงกัน กระบวนท่าร่ายรำคล้ายคลึงกัน ไม่เล่นเป็นเรื่องราว อาจมีบทขับร้อง ประกอบการรำเช้าท่านองเพลงดนตรี ซึ่งระบำแบบมาตรฐานมักบรรเลงด้วยวงปีพาทย์ การแต่งกายนิยมแต่งกายยืนเครื่องพระนาง หรือแต่งแบบนางในราชลำนัก เซ่น ระบำลี่บท ระบำกฤษดาภินิหาร ระบำฉิ่ง เป็นด้น
การละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมืองเป็นการละเล่นในท้องถิ่นที่สืบทอดกันมาเป็นเวลานาน
แบ่งออกเป็น ภาคกลางภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคอีสาน แต่ละภาคจะมีลักษณะเฉพาะในการแสดง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการได้แก่
สภาพภูมิศาสตร์ ประเพณี ศาสนา ความเชื่อและค่านิยม
ทำให้เกิดรูปแบบการละเล่นพื้นเมืองขึ้นหลายรูปแบบ
ได้แก่ รูปแบบการแสดงที่เป็นเรื่องราวของการร้องเพลง
เช่น เพลงเกี่ยวข้าว เพลงบอก เพลงซอ หรือรูปแบบการแสดง เช่น ฟ้อนเทียน เซิ้งกระหยัง
ระบำตารีกีปัส ซึ่งแต่ละรูปแบบนี้จะมีทั้งแบบอนุรักษ์ปรับปรุงและพัฒนา เพื่อให้ดำรงอยู่สืบไป
เรื่องที่ 3.1 ความหมายและความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทย
ความหมายและความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทย
นาฏศิลป์ไทย
คือ
ศิลปะแห่งการร่ายรำที่เป็นเอกลักษณ์ของไทย จากการสืบค้น
ประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทย
เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ไทย และวัฒนธรรมไทย
จากหลักฐานที่ยืนยันว่านาฏศิลป์มีมาข้านาน เซ่น การสืบค้นในหลักศิลา จารึกหลักที่
4 สมัยกรุงสุโขทัย พบข้อความว่า “ระบำรำเต้นเล่นทุกวัน” แสดงให้เห็นว่าอย่าง
น้อยที่สุด นาฏศิลป์ไทย มีอายุไม่น้อยกว่ายุคสุโขทัยขึ้นไป
นาฏศิลป์ไทยมีความเป็นมาอย่างไร
สรุปที่มาของนาฏศิลป์ไทยได้ดังนี้
1. จากการละเล่นของซาวบ้านในห้องถิ่น ซึ่งเป็นกิจกรรมเพื่อความบันเทิงและความ รื่นเริงของซาวบ้าน ภายหลังจากฤดูกาลเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว ซึ่งไม่เพียงเฉพาะนาฏศิลป์ไทย เท่านั้น ที่มี,ประวัติเซ่น'นี้ แต่นาฏศิลป์ทั่วโลกก็มีกำเนิดจากการละเล่นพื้นเมืองหรือการละเล่น ในห้องถิ่น เมื่อเกิดการละเล่นในห้องถิ่น การขับร้องโต้ตอบกันระหว่างฝ่ายหญิงและฝ่ายขาย ก็เกิดพ่อเพลงและแม่เพลงขึ้น จึงเกิดแม่แบบหรือวิธีการที่พัฒนาสืบเนื่องต่อ ๆ กันไน
2. จากการพัฒนาการร้องรำในห้องถิ่นลู่นาฏศิลป์ในวังหลวง เมื่อเข้าลู่วังหลวงก็มีการ พัฒนารูปแบบให้งดงามยิ่งขึ้น มีหลักการและระเบียบแบบแผน ประกอบกับพระมหากษัตริย์ ไทย ยุคสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์ ทรงเป็นกวีและนักประพันธ์ ดังนั้นนาฏศิลป์ไทย จึงมีลักษณะงดงามและประณีต
นาฏศิลป์ไทยมีองค์ประกอบอย่างไร
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะการแสดงที่มีความอ่อนข้อยและงดงามเป็น เอกลักษณ์ของซาติไทย ซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี
1. การฟ้อนรำหรือลีลาการร่ายรำอ่อนข้อย งดงาม และแสดงอารมณ์ เพื่อถ่ายทอด เรื่องราวของตัวละคร และลื่อความหมายในการแสดง
2. เครื่องแต่งกายมีความงดงาม และสื่อถึงความเป็นไทย มีลักษณะแตกต่างกันไป ตามแต่ละบทบาทของตัวละคร เซ่น เครื่องแต่งกายยืนเครื่อง การสวมใส่จะใช้ตรึงด้วยด้าย แทนที่จะเย็บสำเร็จรูป เป็นด้น
3. วงปีพาทย์เป็นดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดง ซึ่งอาจมีแต่ทำนองหรือมีบท ร้องผสมอยู่คำร้องหรือบทร้องเป็นคำประพันธ์ ที่มีลักษณะเป็นกลอนแปด สามารถนำไปร้อง เพลงชั้นเดียว หรือสองชั้นได้ทุกเพลง คำร้องนี้ทำให้ผู้สอนหรือผู้รำกำหนดท่ารำไปตามบทร้อง
นาฏศิลป์ไทยมีความเป็นมาอย่างไร
สรุปที่มาของนาฏศิลป์ไทยได้ดังนี้
1. จากการละเล่นของซาวบ้านในห้องถิ่น ซึ่งเป็นกิจกรรมเพื่อความบันเทิงและความ รื่นเริงของซาวบ้าน ภายหลังจากฤดูกาลเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว ซึ่งไม่เพียงเฉพาะนาฏศิลป์ไทย เท่านั้น ที่มี,ประวัติเซ่น'นี้ แต่นาฏศิลป์ทั่วโลกก็มีกำเนิดจากการละเล่นพื้นเมืองหรือการละเล่น ในห้องถิ่น เมื่อเกิดการละเล่นในห้องถิ่น การขับร้องโต้ตอบกันระหว่างฝ่ายหญิงและฝ่ายขาย ก็เกิดพ่อเพลงและแม่เพลงขึ้น จึงเกิดแม่แบบหรือวิธีการที่พัฒนาสืบเนื่องต่อ ๆ กันไน
2. จากการพัฒนาการร้องรำในห้องถิ่นลู่นาฏศิลป์ในวังหลวง เมื่อเข้าลู่วังหลวงก็มีการ พัฒนารูปแบบให้งดงามยิ่งขึ้น มีหลักการและระเบียบแบบแผน ประกอบกับพระมหากษัตริย์ ไทย ยุคสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์ ทรงเป็นกวีและนักประพันธ์ ดังนั้นนาฏศิลป์ไทย จึงมีลักษณะงดงามและประณีต
นาฏศิลป์ไทยมีองค์ประกอบอย่างไร
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะการแสดงที่มีความอ่อนข้อยและงดงามเป็น เอกลักษณ์ของซาติไทย ซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี
1. การฟ้อนรำหรือลีลาการร่ายรำอ่อนข้อย งดงาม และแสดงอารมณ์ เพื่อถ่ายทอด เรื่องราวของตัวละคร และลื่อความหมายในการแสดง
2. เครื่องแต่งกายมีความงดงาม และสื่อถึงความเป็นไทย มีลักษณะแตกต่างกันไป ตามแต่ละบทบาทของตัวละคร เซ่น เครื่องแต่งกายยืนเครื่อง การสวมใส่จะใช้ตรึงด้วยด้าย แทนที่จะเย็บสำเร็จรูป เป็นด้น
3. วงปีพาทย์เป็นดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดง ซึ่งอาจมีแต่ทำนองหรือมีบท ร้องผสมอยู่คำร้องหรือบทร้องเป็นคำประพันธ์ ที่มีลักษณะเป็นกลอนแปด สามารถนำไปร้อง เพลงชั้นเดียว หรือสองชั้นได้ทุกเพลง คำร้องนี้ทำให้ผู้สอนหรือผู้รำกำหนดท่ารำไปตามบทร้อง
เรื่องที่ 1.6 คุณค่าของความซาบซึ้งของวัฒนธรรม ประเพณีของชาติ
วัฒนธรรมและประเพณีไทย หมายถึงอะไร
วัฒนธรรม เป็นสิ่งที่แสดงความเป็นชาติให้ปรากฏซัดเจนขึ้น ประเทศไทยมีวัฒนธรรม ที่โดดเด่นทำให้คนไทยแตกต่างจากชาติอื่น ๆ มีเอกลักษณ์ประจำชาติที่เห็นได้จากภาษาที่ใซ้ อุปนิสัยใจคอ ความรู้สึกนึกคิดตลอดจนการแสดงออกที่นุ่มนวล อันมีผลมาจากสังคมไทยที่ เป็นสังคมแบบประเพณีนำ และเป็นสังคมเกษตรกรรม เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่ ในชนบท สภาพชองสิ่งแวดล้อมที่ดี กล่อมเกลาจิตใจมีความโอบอ้อมอารี มี,นา'ใจเอื้อเพื้เอ เกื้อกูลซึ่งกันและกันตลอดมา
ประเพณี คือ ระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติที่เห็นว่าดีกว่า ถูกต้องกว่า หรือเป็นที่ ยอมรับชองคนส่วนใหญ่ในสังคมและมีการปฏิบัติลืบต่อกันมา เกิดจากความเชื่อในสิ่งที่มี อำนาจเหนือมนุษย์ เซ่น อำนาจชองดินฟ้าอากาศ และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่ทราบลาเหตุ ต่าง ๆ ฉะนั้น ประเพณี คือ ความประพฤติชองคนส่วนรวมที่ถือกันเป็นธรรมเนียม หรือเป็น ระเบียบแบบแผน และลืบต่อกันมาจนเป็นพิมพ์เดียวกัน และยังคงอยู่ได้ก็เพราะมีสิ่งใหม่เช้า มาช่วยเสริมสร้างสิ่งเก่าอยู่เสมอ และกลมกลืนเช้ากันได้ดี
ศิลปะไทย มีความสำคัญอย่างไร
คิลปวัฒนธรรมไทย แสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์มาช้านาน เป็นประเทศที่มีความเป็น อิสระทางความคิด บุคคลในประเทศมีความลงบลุช รัก สามัคคี จึงเกิดมีคิลปวัฒนธรรมต่าง ๆ ที่เป็นระเบียบแบบแผน มีความเป็นมา มีคุณค่า เป็นวิธีการที่มีความสำคัญ ทุกคนแม้แต่ ซาวต่างชาติเห็นแล้วรู้ทันทีว่า นี่คือ “ประเทศไทย”
คนไทยทุกคนควรมีจิตสำนึกที่จะอนุรักษ์คิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย โดยอาจใช้ แนวทาง ดังนี้
1. ศึกษาความเป็นมา ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นจะต้องมีประวัติ ความเป็นมา โดยเฉพาะสิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ด้วยความประณีตแล้วจะต้องมีความเป็นมา มีการพัฒนาการ มาอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นศิลปะที่งดงาม วัฒนธรรมที่ทุกคนยอมรับเห็นแล้วเกิดความภาคภูมิใจ เซ่น ศิลปะด้านการเชียนภาพ การสร้างบ้านทรงไทย วัฒนธรรมการไหว้ การรับประทาน อาหาร เป็นด้น
2. ศึกษาคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรมไทย ไม่ว่าจะเป็นศิลปะหรือวัฒนธรรมที่สืบ ทอดกันมาจนเป็นเอกลักษณ์ ต้องมีคุณค่าที่ซัดเจนหรือคุณค่าแฝงอยู่มากมาย เซ่น วัฒนธรรม การไหว้ ประเพณีสงกรานต์ ศิลปะแต่ละสมัย
3. ศึกษาวิธีการของศิลปะและวัฒนธรรมให้เข้าใจ ปฏิบัติไต้ถูกต้องตามหลักการที่ วางไว้ อย่าให้ผิดเพี้ยนจะเกิดความเสียหาย เซ่น การไหว้ที่ถูกต้อง แต่ละสถานการณ์ แต่ละ บุคคลทำอย่างไร แตกต่างกันอย่างไร เป็นต้น
ปัจจุบัน “ศิลปะไทย” กำลังจะถูกลืมเมื่ออิทธิพลทางเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามา แทนที่สังคมเก่าของไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งโลกแห่งการลื่อสารไต้ก้าวไปลํ้ายุคมาก จนเกิด ความแตกต่างอย่างเห็นไต้ซัดเมื่อเปรียบเทียบกับสมัยอดีต โลกใหม่ยุคปัจจุบันทำให้คนไทยมี ความคิดห่างไกลตัวเองมากขึ้น และอิทธิพลตังกล่าวนี้ทำให้คนไทยลืมตัวเราเองมากขึ้นจน กลายเป็นสิ่งลับลนอยู่กับสังคมใหม่อย่างไม่รู้ตัว มีความวุ่นวายด้วยอำนาจแห่งวัฒนธรรม ลื่อสารที่รีบเร่งรวดเร็ว จนลืมความเป็นเอกลักษณ์ของชาติ ถ้าเรามีปัจจุบันโดยไม่มีอดีต เราก็ จะมีอนาคตที่คลอนแคลนไม่มั่นคง อนุซนจึงควรมองถึงความสำคัญของบรรพบุรุษ ผู้สร้างสรรค์ศิลปะไทย และทำหน้าที่ลืบลานต่อไปในอนาคต
เรื่องที่ 1.5 ความคิดสร้างสรรค์ในการนำเอาวัสดุและสิ่งของต่าง ๆ มาตกแต่งร่างกาย และสถานที่
ความคิดสร้างสรรค์ในการนำเอาวัสดุและสิ่งของต่าง ๆ มาตกแต่งร่างกาย และสถานที่
เลือกเครื่องแต่งกายอย่างไรให้เหมาะสม
1. การพิจารณาตนเอง ควรพิจารณาข้อด้อยของตนเองเพื่อนำมาปรับปรุงการแต่งกาย ให้เหมาะสม เซ่น การเลือกเสื้อผ้าที่เหมาะกับรูปร่างที่ผอมหรืออ้วน รูปร่างสูงหรือตํ่า สีผิวกาย เพศและวัยรวมถึงบุคลิกภาพ
2. การรับพิงคำวิจารณ์ การเปีดใจกว้างรับพิงคำวิจารณ์จากบุคคลรอบข้าง จะเป็น ข้อมลที่ช่วยให้เราลามารถทราบจุดเด่นจุดด้อยของร่างกายเรา เพื่อหาทางปรับปรุงแกไขให้ดี สับ
3. การแต่งกายให้เหมาะสม การแต่งกายให้เหมาะลมกับเพศ วัย เวลา สถานที่ จะ ช่วยเสริมสร้างบุคลิกภาพได้อีกทางหนึ่ง
4. การพรางส่วนด้อยเน้นส่วนดี บุคคลทุกคนจะมีจุดเด่นและจุดด้อยของร่างกาย เช่น บางคนหน้าสวยแต่ขาไม่สวย จึงต้องพยามทำให้ดึงความสนใจให้คนอื่นมองที่จุดเด่น จนกระทั่งลืมมองที่จุดด้อย หรือใช้เสื้อผ้าช่วยพรางส่วนด้อยของร่างกาย
5. บุคคลที่ร่างกายเตี้ยสํ่า ควรใช้เสื้อผ้าลายเส้นแนวตั้งหรือเฉียงขึ้น เสื้อผ้าควรใช้ทรง แคบยาวคลุมละโพก กางเกงควรเป็นแบบเรียบ ๆ ไม่มีจีบ กระโปรงแบบเรียบ ๆ ควรใช้ผ้าลี เข้มแบบทิ้งตัว หลีกเลี่ยงการใช้เข็มขัดเส้นใหญ่ เครื่องประดับควรมีขนาดใหญ่กำลังดี อย่าเลือกแบบที่ใหญ่เกินไป และควรจะเป็นแบบที่ลื่อถึงความเบาสบาย
6. บุคคลที่มีร่างกายอ้วน ควรใช้เสื้อผ้าลายเส้นแนวตั้ง หลีกเลี่ยงลายเส้นโค้งหยักหรือ ทรงกลม ไม่ควรใช้เสื้อรัดรูปหรือหลวมมากจนเกินไป แบบเสื้อควรเป็นแบบเรียบ ควรใช้ เสื้อผ้าลีเข้มหรือโทนหม่น ๆ เป็นผ้าที่มีนํ้าหนัก ควรหลีกเลี่ยงการใส่เสื้อแขนกุดและผ้าที่ มันวาว
7. บุคคลที่มีร่างกายผอม ควรสวมเสื้อผ้าลายขวางหรือเส้นโค้ง เสื้อผ้าควรมีการหนุน ไหล่ ควรใช้เสื้อคอปีดเพื่อบังความผอมของลำคอ ถ้าใส่เสื้อสูทควรให้ยาวคลุมละโพก เข็มขัด ควรใช้เส้นใหญ่ ถ้าสวมกระโปรงควรเป็นกระโปรงยาวปีดขา ถ้าเป็นกางเกงควรเลือกแบบมี จีบที่เอว ควรเลือกใช้เสื้อผ้าลีสว่างหรือลีอ่อน
8. บุคคลที่มีร่างกายสูงใหญ่ จะแต่งตัวได้ค่อนช้างง่าย ลามารถใช้เสื้อผ้าได้หลายแบบ แต่ที่สำคัญก็คือควรเลือกให้เหมาะลมกับเวลาและสถานที่
องค์ประกอบทางศิลปะที่นำมาใซ้ในการจัดแต่งที่อยู่อาศัย ได้แก่
1. ขนาดและสัดส่วนนำมาใช้ในการจัดที่อยู่อาศัย ได้แก่ ขนาดของห้อง ควรกำหนด ขนาดของห้องให้มีพื้นที่รองรับกิจกรรมต่าง ๆ ให้เหมาะสม เซ่น ห้องอาหาร ห้องครัว ห้องรับแขก จำนวนของสมาซิกในครอบครัว เครื่องเรือน ควรกำหนดให้มีขนาดพอดีกับห้อง และสมาซิก ไม่สูงหรือเตี้ยจนใช้งานไม่สะดวก
2. ความกลมกลืน ได้แก่
2.1 ความกลมกลืนของการตกแต่งที่อยู่อาศัย
2.2 ความกลมกลืนของเครื่องเรือน
2.3 ความกลมกลืนของสีในการตกแต่ง โดยควรคำนึงถึงวัตถุประสงค์ของห้องผู้ใช้
3. การตัดกัน โดยทั่วไปของการจัดตกแต่งที่อยู่อาศัยนิยมทำในรูปแบบของการขัดกัน ในการใช้เครื่องเรือนในการตกแต่ง เพื่อสร้างจุดเด่นหรือจุดสนใจในการตกแต่งไม่ให้เกิดความ กลมกลืนมากเกินไป
4. เอกภาพ ในการตกแต่งสิ่งต่าง ๆ หากขาดเอกภาพงานที่สำเร็จจะขาดความ สมบูรณ์ ในการตกแต่งภายใน การรวมพื้นที่ในห้องต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับกิจกรรมจึงเป็นการ ใช้เอกภาพในการจัดพื้นที่ที่ขัดเจน การจัดเอกภาพของเครื่องเรือนเครื่องใช้ หากเครื่องเรือน จัดไม่เป็นระเบียบย่อมทำให้ผู้อาศัยขาดการใช้สอยที่ดีและขาดประสิทธิภาพในการทำงาน
5. การซํ้า ทำให้เกิดความสอดคล้องของการออกแบบตกแต่งภายใน เซ่น การปู กระเบื้องปูพื้น หรือการติดภาพประดับผนัง
6. จังหวะ การจัดจังหวะของที่อยู่อาศัยทำได้หลายลักษณะ เซ่น การวางผังบริเวณหรือ การจัดแปลนบ้านให้มีลักษณะที่เชื่อมพื้นที่ต่อเนื่องกันเป็นระยะหรือจังหวะ ทำให้เกิดระเบียบ และสะดวกต่อการทำงาน
7. การเน้นได้แก่ การเน้นด้วยสี การเน้นด้วยแสงการเน้นด้วยการตกแต่ง การใช้วัสดุ เครื่องเรือน เครื่องใช้หรือของตกแต่งต่าง ๆ
8. ความสมดุล ได้แก่ จัดตกแต่งเครื่องเรือนหรือวัสดุต่าง ๆ ให้มีความสมดุลต่อการใช้
งาน หรือเหมาะสมกับสถานที่ เซ่น การจัดทิศทางของเครื่องเรือนให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและการทำงาน
9. สี มีความสัมพันธ์กับงานศิลปะและการตกแต่งสถานที่ เพราะลีมีผลต่อสภาพจิตใจ และอารมณ์ของมนุษย์ ลีให้ผู้อยู่อาศัยอยู่อย่างมีความสุข เบิกบานและรื่นรมย์ ดังนั้นลีจึงเป็น บิจจัยสำคัญของการจัดตกแต่งที่อยู่อาศัยในการใซ้ลีตกแต่งภายใน
ควรใช้สีอย่างไร ให้เหมาะกับแต่ละห้อง
1. วัตถุประสงค์ของห้องหรือสถาน ที่การใซ้สีตกแต่งสถานที่ต่าง ๆ ภายในบ้าน
แบ่งออกเป็นห้องต่าง ๆ ดังนี้
ห้องรับแขก เป็นห้องที่ใช้ในการสนทนา หรือต้อนรับผู้มาเยือน ดังนั้นห้องรับแขก ควร1ใช้สีอบอุ่น เซ่น ลีครีม ลีล้มอ่อน หรือลีเหลืองอ่อน เพื่อกระตุ้นให้เบิกบาน
ห้องอาหาร ควรมีลีที่ดูสบายตา เพื่อเพิ่มรสชาติอาหาร อาจใช้ลีที่กลมกลืน นุ่มนวล เพราะลีนุ่มนวลจะทำให้เกิดความสบายใจห้องครัว ควรใช้ลีที่ดูละอาดตา และรักษาความละอาดง่าย ห้องควรเป็นห้องที่ใช้ทำ กิจกรรมจึงควรใช้ลีกระตุ้นให้เกิดความลนใจในการทำกิจกรรม
ห้องนอน เป็นห้องที่พักผ่อน ควรใช้ลีที่ลบายตา อบอุ่น หรือนุ่มนวล แต่การใช้ใน
ห้องนอนควรคำนึงถึงผู้1ช้ด้วย
ห้องนํ้า ควรใช้ลีที่ลบายตาเป็นธรรมชาติและลดขื่น เซ่น ลีฟ้า ลีเขียว หรือลีขาว ละควรเป็นห้องที่ทำความละอาดไต้ง่าย การใช้ลีตกแต่งภายในควรคำนึงถึงทิศทางของห้อง ห้องที่ถูกแลงแดดล่องควรใช้ลีอ่อน เพื่อสะท้อนแลง ส่วนห้องที่อยู่ในที่มีด หรืออับ ควรใช้ลี อ่อนเพื่อความสว่างเซ่นกัน
1.
เรื่องที่ 1.4 สร้างสรรค์ผลงานจากความงามตามธรรมชาติ
สร้างสรรค์ผลงานจากความงามตามธรรมชาติ
ความคิดสร้างสรรค์
คือ
กระบวนการคิดของสมองซึ่งมีความสามารถในการคิดได้ หลากหลายและแปลกใหม่จากเดิม
โดยลามารถนำไปประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการได้อย่าง รอบคอบและมีความถูกต้อง
จนนำไปสู่การคิดด้นและสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่แปลกใหม่หรือ รูปแบบความคิดใหม่
ภาพลายไทย เป็นลายที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยมีธรรมชาติมาเป็นแรงดลบันดาลใจ โดยดัดแปลงธรรมชาติให้เป็นลวดลายใหม่อย่างสวยงาม เซ่น ตาอ้อย ก้ามปู เปลวไฟ รวงข้าว และดอกบัว ฯลฯ ลายไทยเดิมทีเดียวเรียกกันว่า “กระหนก” หมายถึงลวดลาย เซ่น กระหนก ลาย กระหนกก้านขด ต่อมามีคำใข้ว่า “กนก” หมายถึง ทอง กนภปิดทอง กนกตู้ลายทอง
ช่างไทยโบราณแบ่งหมวดหมู่ชองศิลปะไทยออกได้ 4 หมวดด้วยกัน คือ1. กนก ภาษาสันสกฤต แปลว่า“หนาม” ลำหรับช่างเขียนโบราณ กนก คือ ดงป่าดงไม้ มีแบบฟอร์มคือเปลวไฟเป็นรูปลามเหลี่ยม กนกแบบต่าง ๆ เซ่น กนกลามตัว กนกใบเทศ กนก เปลว ฯลฯ
2. นารี คือ การเรียนรู้ฝึกฝนเกี่ยวกับการเขียนหน้ามนุษย์ เทวดา นางฟ้า พระ และนาง ทั้งด้านหน้าตรงและด้านหน้าเพล, ซึ่งถือว่าเป็นภาพหลักชองภาพไทย เมื่อเขียนได้คล่องแคล,ว ดีแล้ว จึง‘ฝึกเขียนทั้งตัวในอริยาบถต่าง ๆ ภาพเหล่านี้จะแสดงอารมณ์ด้วย
3. กระบี่ คือ การ‘ฝึกเขียนภาพอมนุษย์ต่างๆ ได้แก่ พวกยักษ์ วานร เป็นด้น
4. คซะ คือ การ‘ฝึกเขียนภาพสัตว์สามัญและภาพสัตว์ประดิษฐ์ต่างๆ ในหมวดนี้จะแบ่ง สัตว์ที่เขียนเป็นลองประเภท ประเภทแรกคือสัตว์ที่มีอยู่บนโลกมนุษย์ เซ่น ข้าง ม้า วัว นก เป็นด้น ประเภทที่ลอง คือ สัตว์ประดิษฐ์หรือสัตว์หิมพานต่ เซ่น กินรี ราชสิงห์ เป็นด้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)